ประชาชนครึ่งหนึ่งของโลก จะประสบกับภาวะขาดแคลนน้ำ หากยังคงมีการใช้น้ำที่ฟุ่มเฟื่อย ยิ่งไปกว่านั้นสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) ระบุว่าประเด็นด้านทรัพยากรน้ำเป็นประเด็นทางสิ่งแวดล้อมที่สำคัญที่สุดประเด็นหนึ่งในปี 2560 การรักษาความมั่นคงของทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource Security) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง น้ำสะอาด เป็นประเด็นที่ภาคเอกชนจำเป็นต้องให้ความสำคัญ บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรดจำกัด และบริษัทในกลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ ให้ความสำคัญและใส่ใจกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญต่อการดำเนินธุรกิจ ทั้งยังเป็นการสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป้าหมายที่ 6 ตระหนักดีถึงความท้าทายและความสำคัญในการดูแลรักษาทรัพยากรน้ำตลอดห่วงโซ่อุปทาน โดยมุ่งมั่นบริหารจัดการทรัพยากรน้ำครอบคลุมตลอดห่วงโซ่คุณค่า ซึ่งมีความจำเป็นที่จะต้อง พัฒนากระบวนการ เทคโนโลยี นวัตกรรม และโครงสร้างพื้นฐานอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงนี้ เพื่อผลักดันให้การบริหารจัดการน้ำเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

สุขอนามัย



36.25 %

86 %
เป้าหมาย2563
-
ร้อยละการลดปริมาณการนำน้ำมาใช้ต่อรายได้–23.7924.6636.25100%


เพื่อการวางแผนบริหารจัดการน้ำตลอดห่วงโซ่อุปทาน
ความเครียด (Baseline Water Stress) |
ปริมาณน้ำที่นำมาใช้
(Water Withdrawal) |
---|---|
![]() ระดับต่ำ – ปานกลาง
|
ปริมาณน้อย – ปานกลางปริมาณมาก |
![]() ระดับต่ำ – ปานกลาง
|
ปริมาณน้อยปริมาณปานกลางปริมาณมาก |

แผนบริหารจัดการด้านน้ำ |
---|
ระดับ 1: ความเสี่ยงตํ่า
|
ระดับ 2:
ความเสี่ยงปานกลาง
|
ระดับ 3: ความเสี่ยงสูง
|
บริษัทในกลุ่มธุรกิจแบ่งตามระดับ
การประเมินความเสี่ยงด้านน้ำ

- โครงการลดการใช้น้ำและการส่งเสริมการดำเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำแก่เกษตรกร
- โครงการรักษ์น้ำรักสิ่งแวดล้อม
- การส่งเสริมการเข้าถึงแหล่งน้ำของชุมชน
- การเสริมสร้างจิตสำนึกอนุรักษ์การใช้น้ำให้แก่พนักงาน
- การสนับสนุนการประเมินการใช้น้ำตลอดวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์


ประชาชนครึ่งหนึ่งของโลก จะประสบกับภาวะขาดแคลนน้ำ หากยังคงมีการใช้น้ำที่ฟุ่มเฟื่อย ยิ่งไปกว่านั้นสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) ระบุว่าประเด็นด้านทรัพยากรน้ำเป็นประเด็นทางสิ่งแวดล้อมที่สำคัญที่สุดประเด็นหนึ่งในปี 2560 การรักษาความมั่นคงของทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource Security) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง น้ำสะอาด เป็นประเด็นที่ภาคเอกชนจำเป็นต้องให้ความสำคัญ บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรดจำกัด และบริษัทในกลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ ให้ความสำคัญและใส่ใจกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญต่อการดำเนินธุรกิจ ทั้งยังเป็นการสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป้าหมายที่ 6 ตระหนักดีถึงความท้าทายและความสำคัญในการดูแลรักษาทรัพยากรน้ำตลอดห่วงโซ่อุปทาน โดยมุ่งมั่นบริหารจัดการทรัพยากรน้ำครอบคลุมตลอดห่วงโซ่คุณค่า ซึ่งมีความจำเป็นที่จะต้อง พัฒนากระบวนการ เทคโนโลยี นวัตกรรม และโครงสร้างพื้นฐานอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงนี้ เพื่อผลักดันให้การบริหารจัดการน้ำเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

สุขอนามัย



36.25 %

86 %
เป้าหมาย2563
-
ร้อยละการลดปริมาณการนำน้ำมาใช้ต่อรายได้–23.7924.6636.25100%


เพื่อการวางแผนบริหารจัดการน้ำตลอดห่วงโซ่อุปทาน
ความเครียด (Baseline Water Stress) |
ปริมาณน้ำที่นำมาใช้
(Water Withdrawal) |
---|---|
![]() ระดับต่ำ – ปานกลาง
|
ปริมาณน้อย – ปานกลางปริมาณมาก |
![]() ระดับต่ำ – ปานกลาง
|
ปริมาณน้อยปริมาณปานกลางปริมาณมาก |

แผนบริหารจัดการด้านน้ำ |
---|
ระดับ 1: ความเสี่ยงตํ่า
|
ระดับ 2:
ความเสี่ยงปานกลาง
|
ระดับ 3: ความเสี่ยงสูง
|
บริษัทในกลุ่มธุรกิจแบ่งตามระดับ
การประเมินความเสี่ยงด้านน้ำ

- โครงการลดการใช้น้ำและการส่งเสริมการดำเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำแก่เกษตรกร
- โครงการรักษ์น้ำรักสิ่งแวดล้อม
- การส่งเสริมการเข้าถึงแหล่งน้ำของชุมชน
- การเสริมสร้างจิตสำนึกอนุรักษ์การใช้น้ำให้แก่พนักงาน
- การสนับสนุนการประเมินการใช้น้ำตลอดวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์

