HomeLiving Together
บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด และบริษัทในกลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม โดย ดำเนินธุรกิจภายใต้แนวคิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ อย่างสูงสุดควบคู่ไปกับหลักการดำเนินธุรกิจขององค์กรภายใต้แนวคิด “Green Culture” ปลูกฝังอยู่ในกิจกรรมของคนในองค์กรสื่อไปถึงตราสินค้าและผลิตภัณฑ์ขององค์กร เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ในการเป็นบริษัทชั้นนำด้านธุรกิจข้าวครบวงจร และเกษตรอุตสาหกรรม ภายใต้กรอบวิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัยสิ่งแวดล้อม พลังงานและประสิทธิภาพ จึงกำหนดเป้าหมายความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
การปกป้องระบบนิเวศ
และความหลากหลายทางชีวภาพ
ความท้าทาย

บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด และบริษัทในกลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และมีความมุ่งมั่นที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการลดผลกระทบและปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพ และระบบนิเวศให้มีความสมบูรณ์ ผ่านการมีส่วนร่วมของภาคธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรมในการดูแลและลดผลกระทบเหล่านี้ บริษัทฯ ยังได้ประเมินความเสี่ยงด้านความหลากหลายทางชีวภาพของโลกอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งมั่นอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางทะเลอย่างรับผิดชอบ ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบก ป่าไม้ และความหลากหลายทางธรรมชาติอย่างยั่งยืน

สนับสนุนเป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน
SDG 6
น้ำสะอาดและการสุขาภิบาล
6.6
ปกป้องและฟื้นฟูระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับแหล่งน้ำ
SDG 14
สิ่งมีชีวิตในท้องทะเล
14.2
การปกป้องและฟื้นฟูระบบนิเวศ
14.4
การประมงอย่างยั่งยืน
14.5
การอนุรักษ์ชายฝั่งและพื้นที่ทางทะเล
SDG 15
สิ่งมีชีวิตบนผืนดิน
15.1
การอนุรักษ์ และฟื้นฟูการใช้ระบบนิเวศบนบกและในน้ำจืด
15.2
หยุดยั้งการตัดไม้ทำลายป่า และฟื้นฟูป่าที่เสื่อมโทรม
15.4
สร้างหลักประกันว่าจะมีการอนุรักษ์ระบบนิเวศภูเขา
15.5
ปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพและถิ่นที่อยู่ตามธรรมชาติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2563
100 เปอร์เซ็นต์
ของการปลูกข้าวสามารถทวนสอบย้อนกลับได้
ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุน
การใช้ระบบนิเวศบนบก ป่าไม้ และความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเฉพาะในกระบวนการส่งเสริมการปลูกข้าว
ประกาศนโยบาย
สิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ ตามแนวทางของเครือฯ
เป้าหมายปี 2563
ร้อยละ 100 ของวัตถุดิบหลักผ่านการประเมินการจัดหาจากแหล่งผลิตที่ไม่บุกรุกทำลายป่าไม้ และทรัพยากรทางทะเล
ผลลัพธ์ปี 2563 เทียบเป้าหมาย
2560
2561
2562
2563
บรรลุตาม
เป้าหมาย2563
  • ร้อยละการดำเนินงาน
    ฟื้นฟูระบบนิเวศ
    10
    50
    60
    100
    100%
  • ร้อยละการทวนสอบย้อนกลับ
    100
    100
    100
    100%
การบริหารจัดการปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวทางการบริหารจัดการ

กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศมุ่งมั่นดำเนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบควบคู่ไปกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพมาโดยตลอดโดยยึดมั่นดำเนินการตามหลักการดังกล่าวตั้งแต่การเลือกสถานที่ตั้งสถานประกอบการที่ไม่อยู่ในแหล่งอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ มาตรฐาน และกฎกระทรวงที่กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด ประเมินผลกระทบและกำหนดมาตรการป้องกันและบรรเทาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินธุรกิจอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้ ยังให้ ความสำคัญกับการจัดหาวัตถุดิบทางการเกษตรที่มาจากแหล่งที่รับผิดชอบและไม่บุกรุกพื้นที่ป่าและทรัพยากรทางทะเล มีส่วนร่วม ผลักดันการปกป้อง ฟื้นฟูระบบนิเวศบนบกและทะเลเพื่อ ความสมดุล ของระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน

กรอบการดำเนินงานด้านการปกป้องระบบนิเวศ
และความหลากหลายทางชีวภาพ
กรอบการดำเนินงานด้านการปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
การจัดหาวัตถุและการตรวจสอบย้อนกลับ
เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค

ผู้บริโภคในปัจจุบันมีความสนใจและใส่ใจกับข้อมูลผลิตภัณฑ์อาหารมากขึ้นเมื่อเทียบกับอดีตที่ผ่านมาทั้งในแง่ของคุณภาพและความปลอดภัยข้อมูล บนฉลากที่บ่งชี้ส่วนผสม และวันหมดอายุอาจจะไม่เพียงพอสำหรับผู้บริโภคอีกต่อไปแล้ว เมื่อผู้บริโภคยังต้องการทราบถึงแหล่งที่มาของผลิตภัณฑ์คุณภาพในกระบวนการผลิต ความปลอดภัย ไม่มีการปนเปื้อน และข้อมูลอื่นๆ ที่จะช่วยสร้างความเชื่อมั่นในการเลือกซื้ออาหาร

ระบบทวนสอบย้อนกลับจึงเข้ามามีบทบาทมากยิ่งขึ้นในการให้ข้อมูลเส้นทางของอาหารนั้นๆ ตั้งแต่วัตถุดิบ ผ่านกระบวนการผลิตจนมาถึงมือผู้บริโภค นอกจากนี้ ยังช่วยผู้ผลิตลดความสูญเสียในการเรียกคืนสินค้า สามารถเรียกคืนได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็วในปริมาณที่ควรจะเป็น บริษัทมีการพัฒนาระบบการตรวจสอบย้อนกลับตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทานด้วยระบบตรวจสอบที่แม่นยำ รวดเร็ว และ โปร่งใส สร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค อีกทั้งยังเป็นกลไกในการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมที่สำคัญ โดยเฉพาะการป้องกันผลกระทบต่อระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ และคู่ค้าธุรกิจยังคงปฏิบัติตามระบบการตรวจสอบแหล่งที่มาอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความมั่นใจว่าวัตถุดิบมาจากแหล่งที่มีการจัดหาอย่างยั่งยืน

  • การประเมินความเสี่ยง

    บริษัทฯ ได้การพัฒนาระบบการประเมินตนเอง ด้านความยั่งยืนสำหรับคู่ค้าธุรกิจ ใช้เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือก คู่ค้าธุรกิจรายใหม่ กับคู่ค้าธุรกิจกลุ่มวัตถุดิบหลักเพื่อบริหารความเสี่ยง ในห่วงโซ่อุปทานเบื้องต้น
  • พัฒนาคู่ค้าธุรกิจ

    บริษัทฯ มีนโยบายด้านการจัดหาอย่างยั่งยืน และแนวปฏิบัติสำหรับคู่ค้าธุรกิจ สร้างการ มีส่วนร่วมและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับ คู่ค้าธุรกิจ ชุมชน เกษตรกร องค์กรอิสระ และภาครัฐ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถใน การดำเนินธุรกิจและส่งเสริมให้เกิดมาตรฐาน การจัดหาอย่างรับผิดชอบตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน
  • การสื่อสาร

    บริษัทฯ การรายงานความก้าวหน้า แก่เครือเจริญโภคภัณฑ์ และคู่ค้า ผ่านการประชุมการดำเนินงานด้านความยั่งยืน และรายงานความยั่งยืนประจำปี
  • เกษตรกร

    เกษตรกร

    • 3 ประโยชน์
    • โครงการ GAP+

    โปรแกรมพัฒนา
    วัตถุดิบ

  • โรงสี

    โรงสี

    • วัตถุดิบสด คุณภาพดี
    • เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและของเสียลดลง
    • บริหารช่วงเวลาการผลิต

    SCADASPA

  • โรงงานข้าว

    โรงงานข้าว

    • ระบบผลิตอัตโนมัติ
    • ระบบมาตรฐานความ
    • ปลอดภัยอาหาร (BRC)

    SCADASPA

  • ผู้บริโภค

    ผู้บริโภค

    • เชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์
    • การใช้วัตถุดิบจากแหล่งที่มีความรับผิดชอบ

    Sustainabilty App
    e-Brochure

ความท้าทาย

บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด และบริษัทในกลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และมีความมุ่งมั่นที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการลดผลกระทบและปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพ และระบบนิเวศให้มีความสมบูรณ์ ผ่านการมีส่วนร่วมของภาคธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรมในการดูแลและลดผลกระทบเหล่านี้ บริษัทฯ ยังได้ประเมินความเสี่ยงด้านความหลากหลายทางชีวภาพของโลกอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งมั่นอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางทะเลอย่างรับผิดชอบ ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบก ป่าไม้ และความหลากหลายทางธรรมชาติอย่างยั่งยืน

สนับสนุนเป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน
SDG 6
น้ำสะอาดและการสุขาภิบาล
6.6
ปกป้องและฟื้นฟูระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับแหล่งน้ำ
SDG 14
สิ่งมีชีวิตในท้องทะเล
14.2
การปกป้องและฟื้นฟูระบบนิเวศ
14.4
การประมงอย่างยั่งยืน
14.5
การอนุรักษ์ชายฝั่งและพื้นที่ทางทะเล
SDG 15
สิ่งมีชีวิตบนผืนดิน
15.1
การอนุรักษ์ และฟื้นฟูการใช้ระบบนิเวศบนบกและในน้ำจืด
15.2
หยุดยั้งการตัดไม้ทำลายป่า และฟื้นฟูป่าที่เสื่อมโทรม
15.4
สร้างหลักประกันว่าจะมีการอนุรักษ์ระบบนิเวศภูเขา
15.5
ปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพและถิ่นที่อยู่ตามธรรมชาติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2563
100 เปอร์เซ็นต์
ของการปลูกข้าวสามารถทวนสอบย้อนกลับได้
ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุน
การใช้ระบบนิเวศบนบก ป่าไม้ และความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเฉพาะในกระบวนการส่งเสริมการปลูกข้าว
ประกาศนโยบาย
สิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ ตามแนวทางของเครือฯ
เป้าหมายปี 2563
ร้อยละ 100 ของวัตถุดิบหลักผ่านการประเมินการจัดหาจากแหล่งผลิตที่ไม่บุกรุกทำลายป่าไม้ และทรัพยากรทางทะเล
ผลลัพธ์ปี 2563 เทียบเป้าหมาย
2560
2561
2562
2563
บรรลุตาม
เป้าหมาย2563
  • ร้อยละการดำเนินงาน
    ฟื้นฟูระบบนิเวศ
    10
    50
    60
    100
    100%
  • ร้อยละการทวนสอบย้อนกลับ
    100
    100
    100
    100%
การบริหารจัดการปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวทางการบริหารจัดการ

กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศมุ่งมั่นดำเนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบควบคู่ไปกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพมาโดยตลอดโดยยึดมั่นดำเนินการตามหลักการดังกล่าวตั้งแต่การเลือกสถานที่ตั้งสถานประกอบการที่ไม่อยู่ในแหล่งอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ มาตรฐาน และกฎกระทรวงที่กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด ประเมินผลกระทบและกำหนดมาตรการป้องกันและบรรเทาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินธุรกิจอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้ ยังให้ ความสำคัญกับการจัดหาวัตถุดิบทางการเกษตรที่มาจากแหล่งที่รับผิดชอบและไม่บุกรุกพื้นที่ป่าและทรัพยากรทางทะเล มีส่วนร่วม ผลักดันการปกป้อง ฟื้นฟูระบบนิเวศบนบกและทะเลเพื่อ ความสมดุล ของระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน

กรอบการดำเนินงานด้านการปกป้องระบบนิเวศ
และความหลากหลายทางชีวภาพ
กรอบการดำเนินงานด้านการปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
การจัดหาวัตถุและการตรวจสอบย้อนกลับ
เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค

ผู้บริโภคในปัจจุบันมีความสนใจและใส่ใจกับข้อมูลผลิตภัณฑ์อาหารมากขึ้นเมื่อเทียบกับอดีตที่ผ่านมาทั้งในแง่ของคุณภาพและความปลอดภัยข้อมูล บนฉลากที่บ่งชี้ส่วนผสม และวันหมดอายุอาจจะไม่เพียงพอสำหรับผู้บริโภคอีกต่อไปแล้ว เมื่อผู้บริโภคยังต้องการทราบถึงแหล่งที่มาของผลิตภัณฑ์คุณภาพในกระบวนการผลิต ความปลอดภัย ไม่มีการปนเปื้อน และข้อมูลอื่นๆ ที่จะช่วยสร้างความเชื่อมั่นในการเลือกซื้ออาหาร

ระบบทวนสอบย้อนกลับจึงเข้ามามีบทบาทมากยิ่งขึ้นในการให้ข้อมูลเส้นทางของอาหารนั้นๆ ตั้งแต่วัตถุดิบ ผ่านกระบวนการผลิตจนมาถึงมือผู้บริโภค นอกจากนี้ ยังช่วยผู้ผลิตลดความสูญเสียในการเรียกคืนสินค้า สามารถเรียกคืนได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็วในปริมาณที่ควรจะเป็น บริษัทมีการพัฒนาระบบการตรวจสอบย้อนกลับตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทานด้วยระบบตรวจสอบที่แม่นยำ รวดเร็ว และ โปร่งใส สร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค อีกทั้งยังเป็นกลไกในการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมที่สำคัญ โดยเฉพาะการป้องกันผลกระทบต่อระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ และคู่ค้าธุรกิจยังคงปฏิบัติตามระบบการตรวจสอบแหล่งที่มาอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความมั่นใจว่าวัตถุดิบมาจากแหล่งที่มีการจัดหาอย่างยั่งยืน

  • การประเมินความเสี่ยง

    บริษัทฯ ได้การพัฒนาระบบการประเมินตนเอง ด้านความยั่งยืนสำหรับคู่ค้าธุรกิจ ใช้เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือก คู่ค้าธุรกิจรายใหม่ กับคู่ค้าธุรกิจกลุ่มวัตถุดิบหลักเพื่อบริหารความเสี่ยง ในห่วงโซ่อุปทานเบื้องต้น
  • พัฒนาคู่ค้าธุรกิจ

    บริษัทฯ มีนโยบายด้านการจัดหาอย่างยั่งยืน และแนวปฏิบัติสำหรับคู่ค้าธุรกิจ สร้างการ มีส่วนร่วมและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับ คู่ค้าธุรกิจ ชุมชน เกษตรกร องค์กรอิสระ และภาครัฐ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถใน การดำเนินธุรกิจและส่งเสริมให้เกิดมาตรฐาน การจัดหาอย่างรับผิดชอบตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน
  • การสื่อสาร

    บริษัทฯ การรายงานความก้าวหน้า แก่เครือเจริญโภคภัณฑ์ และคู่ค้า ผ่านการประชุมการดำเนินงานด้านความยั่งยืน และรายงานความยั่งยืนประจำปี
  • เกษตรกร

    เกษตรกร

    • 3 ประโยชน์
    • โครงการ GAP+

    โปรแกรมพัฒนา
    วัตถุดิบ

  • โรงสี

    โรงสี

    • วัตถุดิบสด คุณภาพดี
    • เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและของเสียลดลง
    • บริหารช่วงเวลาการผลิต

    SCADASPA

  • โรงงานข้าว

    โรงงานข้าว

    • ระบบผลิตอัตโนมัติ
    • ระบบมาตรฐานความ
    • ปลอดภัยอาหาร (BRC)

    SCADASPA

  • ผู้บริโภค

    ผู้บริโภค

    • เชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์
    • การใช้วัตถุดิบจากแหล่งที่มีความรับผิดชอบ

    Sustainabilty App
    e-Brochure

กลับไป
ด้านบน
อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับ

HOME : LIVING TOGETHER
การปกป้องระบบนิเวศและ
ความหลากหลายทางชีวภาพ