HealthLiving Well
บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด และบริษัทในกลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของความยั่งยืนด้านสังคม โดย ดำเนินธุรกิจภายใต้แนวคิดการพัฒนาพนักงานและสังคมให้เชื่องโยงกับมิติทางเศรษฐกิจขององค์กร โดยให้สิทธิและโอกาสที่จะได้รับการดูแลและผลประโยชน์ที่เป็นธรรม กระตุ้นให้พนักงานเห็นคุณค่าของการทำงานและเกิดความซื่อสัตย์ต่อองค์กร มีช่องทางการสื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสีย มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ มีระบบการจัดการมีสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย สร้างสังคมรอบข้างให้เป็นสังคมที่มีคุณภาพ ได้รับการยอมรับจากสังคมและชุมชนในการประกอบการ ปลูกฝังอยู่ในกิจกรรมของคนในองค์กรสื่อไปถึงตราสินค้าและผลิตภัณฑ์ขององค์กร
การสร้างความผูกพันกับผู้มีส่วนได้เสีย
ความท้าทาย

การสร้างความผูกพันกับผู้มีส่วนได้เสียอย่างครอบคลุม ถือเป็นหัวใจสำคัญและถูกนำเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนากลยุทธ์ของทุกบริษัทในกลุ่มการค้าระหว่างประเทศ เพื่อสร้างสมดุลระหว่างการดำเนินงานขององค์กรและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้มีส่วนได้เสีย โดยดำเนินการพิจารณาความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองด้วยแนวทางที่สามารถบริหารจัดการประเด็นที่มีความสำคัญทั้งต่อธุรกิจและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเหมาะสม

สนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
SDG 16
ความสงบสุข ความยุติธรรม และสถาบันที่เข้มแข็ง
16.7
สร้างหลักประกันว่าจะมีกระบวนการตัดสินใจที่มีความรับผิดชอบ ครอบคลุม มีส่วนร่วม และมีความเป็นตัวแทนที่ดี ในทุกระดับการตัดสินใจ
SDG 17
ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
17.6
ยกระดับหุ้นส่วนความร่วมมือระดับโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
17.7
สนับสนุนความร่วมมือที่มีประสิทธิภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2563
ทุกบริษัท
มีการกำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย และหาความต้องการและความคาดหวัง
การรับฟังเสียงจากผู้มีส่วนได้เสีย
มีการสำรวจความผูกพันและความไว้วางใจของ 14 กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียที่มีต่อองค์กรทุกปี
เป้าหมายปี 2563
ร้อยละ 100 ของบริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด และบริษัทในกลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ มีกระบวนการสร้างความผูกพันกับผู้มีส่วนได้เสีย
ผลลัพธ์ปี 2563 เทียบเป้าหมาย
2560
2561
2562
2563
บรรลุตาม
เป้าหมาย 2563
  • จำนวนสายธุรกิจ
    2
    7
    7
    7
    100%
  • จำนวนบริษัท
    2
    7
    7
    7
    100%
กรอบการดำเนินงานกับผู้มีส่วนได้เสีย
แนวทางการบริหารจัดการ
บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด และบริษัทในกลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศได้กำหนดแนวทางการบริหารจัดการด้านความผูกพันกับผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียได้ทันการณ์ และเป็นการสร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจจากทุกฝ่าย โดยพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียอย่างต่อเนื่อง และครอบคลุมในเรื่องการระบุผู้มีส่วนได้เสีย ความต้องการหรือความคาดหวัง พัฒนาช่องทางการมีส่วนร่วม ช่องทางการรับข้อร้องเรียน และกระบวนการตรวจสอบข้อร้องเรียนที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งจะต้องทำให้พนักงานในองค์กรตระหนัก เข้าใจ และปฏิบัติในเรื่องนี้อย่างเป็นระบบ ทั้งนี้ผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท มีกระบวนการระบุผู้มีส่วนได้เสีย ดังนี้
1
พิจารณากลุ่มผู้มีส่วนได้เสียจาก 3 ปัจจัย ได้แก่
  • การกำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียตามคู่ค้าสำคัญ ซึ่งมี 14 กลุ่ม
  • การกำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียตามเครือเจริญโภคภัณฑ์ ซึ่งมี 10 กลุ่ม
  • การกำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียตามระบบมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม CSR ซึ่งมี 8 กลุ่ม
2
ประชุมผู้บริหาร และคณะกรรมการพิจารณากลุ่มผู้มีส่วนได้เสียครอบคลุมทั้ง 3 ปัจจัย จึงได้กำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด เป็นทั้งหมด 14 กลุ่ม
กระบวนการสร้างความผูกพันผู้มีส่วนได้เสีย
ในกระบวนการจัดทำรายงานความยั่งยืน ประจำ ปี 2563 ของ บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด เราสร้างการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียในระดับกลุ่มธุรกิจ โดยการทบทวนประเด็นการฟังเสียงจากผู้มีส่วนได้เสียจากปี 2562 ผ่านกลไกต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบประเด็นด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์กร และรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และความคาดหวัง ของกลุ่มต่าง ๆ ทำ ให้เราเข้าใจประเด็นสำคัญร่วมที่ผู้มีส่วนได้เสียมีความคิดเห็นตรงกัน และได้นำมาวางแผนเพื่อตอบสนองประเด็นดังกล่าว ตลอดจนผลักดันให้เกิดการปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และเพื่อตอบสนองความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียที่มีความสนใจ และความคาดหวังที่แตกต่างกัน กลุ่มธุรกิจฯ จึงสร้างช่องทางการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย ผ่านกลไกการสื่อสารที่เอื้อต่อการสานสัมพันธ์ แลกเปลี่ยนทัศนะ ซึ่งความถี่ในการสื่อสารของแต่ละกลุ่มจะแปรผันไปตามแผนงานและความต้องการ ดังแสดงในตารางต่อไปนี้
กรอบการดำเนินงานกับผู้มีส่วนได้เสีย
กลุ่มผู้มี
ส่วนได้เสีย
ช่องทาง
การมีส่วนร่วม
ประเด็นที่อยู่
ในความสนใจ
ประเด็นที่
มีนัยสำคัญด้านความยั่งยืน
การดำเนินงาน
เพื่อตอบสนอง
ประโยชน์ที่ผู้มี
ส่วนได้เสียได้รับ
พนักงาน
  • อินทราเน็ต, CPTG & CROP Connect Mobile Applications
  • อีเมล และ สื่อโซเชียล
  • พูดคุยและประชุมคณะทำงานต่างๆ
  • การดำเนินงานของคณะกรรมการสวัสดิการและคณะกรรมการความปลอดภัย (คปอ.)
  • การสำรวจความพึงพอใจและความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร
  • เปิดช่องทางรับฟังข้อเสนอแนะ และข้อร้องเรียน
  • ค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์ และสวัสดิการ
  • ความก้าวหน้าในอาชีพ
  • สภาพแวดล้อมในการทำงาน
  • ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • สิทธิมนุษยชน และการปฏิบัติด้านแรงงาน
  • การพัฒนาผู้นำและ ทรัพยากรบุคคล
  • ปฏิบัติต่อพนักงานตามหลักสิทธิมนุุษยชน
  • พัฒนาศักยภาพพนักงานอย่างต่อเนื่อง
  • รักษาไว้ซึ่งพนักงานที่เก่งและดีพัฒนาระบบบริหารงานบุุคคล
  • ดำเนินงานตามมาตรฐานแรงงานไทย
  • กำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
  • พนักงานได้รับการฝึกอบรมที่เหมาะสม
  • การเตรียมความพร้อมและพัฒนาผู้นำ
  • การดำเนินการกับข้อร้องเรียนและแจ้งเบาะแส
  • การตรวจประเมินการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
ชุมชนและสังคม
  • รายงานความยั่งยืนประจำปี/ รายงาน CSR
  • รับฟังและสำรวจความคิดเห็น
  • เปิดช่องรับข้อร้องเรียน
  • สานเสาวนาชุมชน ลงพื้นที่เยี่ยมชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
  • จัดกิจกรรมส่งสริมคุณภาพชีวิต
  • ผลกระทบจากการดำเนินธุรกิจที่มีผลต่อชุมชน และสิ่งแวดล้อม
  • การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตชุมชน
  • มีกระบวนการข้อร้องเรียนอย่างเป็นธรรม
  • การสื่อสารการดำเนินงานอย่างรวดเร็วและโปร่งใส
  • คุณค่าทางสังคม
  • การจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
  • การดูแลรักษาทรัพยากรน้ำ
  • การปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
  • ประสานงานในพื้นที่เพื่อแก้ปัญหาร่วมกันรับฟังข้อเสนอแนะและนำมาใช้ในการกำหนดแนวทางดำเนินงาน
  • สื่อสารและเปิดเผยข้อมููลการดำเนินงานอย่างครบถ้วน
  • โปร่งใส และรวดเร็ว พร้อมรับฟังข้อเสนอแนะเพื่อนำมาปรับปรุงแผนการดำเนินงาน
  • การดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติด้านแรงงาน
  • การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุุณค่าทางสังงคม
  • การปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ/li>
  • การปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
ลูกค้า/ ผู้บริโภค
  • ศูนย์บริการลูกค้า
  • ช่องทางรับฟังความคิดเห็นและข้อร้องเรียน
  • ออกสำรวจ และสัมภาษณ์
  • พบปะลูกค้า ลงพื้นที่เยี่ยมเยียน
  • ทาง Mail / Social Media ต่างๆ
  • คุณภาพสินค้าที่ดีและเหมาะสมกับราคา
  • ความปลอดภัยอาหาร
  • การตรวจสอบย้อนกลับของผลิตภัณฑ์
  • ข้อมูลผลิตภัณฑ์ และบริการหลังการขาย
  • ความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล
  • สุขภาพและสุขภาวะที่ดี
  • การปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
  • พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่ได้มาตรฐานทั้งคุณภาพและความปลอดภัย
  • สื่อสารลูกค้าและผู้บริโภคเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และบริการผ่านฉลากผลิตภัณฑ์ และรักษาความลับของลูกค้า
  • พัฒนาระบบตรวจสอบย้อนกลับได้ของผลิตภัณฑ์
  • การมุ่งเน้นกระบวนการผลิตที่มีคุณภาพ
  • ฉลากสินค้า เว็บไซต์ และสายด่วนเพื่อผู้บริโภค
  • การจัดการวัตถุดิบและการตรวจสอบย้อนกลับ
คู่ค้า
  • ประชุมร่วมกับคู่ค้า
  • การจัดหลักสูตรอบรมพัฒนาคู่ค้า
  • โครงการสร้างเสริมศักยภาพคู่ค้า ความร่วมมือ ร่วมสร้างนวัตกรรม
  • ประเมินให้คำปรึกษา และบริการวิชาการ
  • เปิดช่องทางรับ ข้อร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะ
  • ดำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส
  • ความเสมอภาคในการทำธุรกิจ
  • การส่งเสริมศักยภาพคู่ค้าในการดำเนินธุรกิจ
  • Hสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติด้านแรงงานตลอดห่วงโซ่อุปทาน
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • การจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างรับผิดชอบ
  • พัฒนาโครงการความร่วมมือกับคู่ค้าอย่างต่อเนื่องโดยจัดหลักสูตรการเพิ่มศักยภาพในการพัฒนาคู่ค้า
  • พัฒนาข้อกำหนดการตรวจประเมินคู่ค้าตามนโยบายด้านการจัดหาอย่างยั่งยืน
  • สื่อสารให้คู่ค้าเข้าใจข้อกำหนดต่างๆ
  • ปฏิบัติต่อคู่ค้าทุกรายด้วยความเสมอภาคตามข้อตกลง และจรรยาบรรณทางธุรกิจ
  • การพัฒนาศักยภาพของคู่ค้าธุรกิจ
  • การสื่อสารจรรยาบรรณสำหรบคู่ค้าธุรกิจ (Supplier Code of Conduct)
  • การดำเนินธุรกิจบนพื้นฐานของจริยธรรมและความโปร่งใส
ผู้ถือหุ้น/
นักลงทุน
  • ประชุมชี้แจงผู้ถือหุ้น และนักลงทุน
  • นำเยี่ยมชมกิจการ
  • รายงานความยั่งยืน
  • เปิดช่องทางการรับข้อร้องเรียน
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • การเปิดเผยข้อมูลการดำเนินงานอย่างครบถ้วนโปร่งใส และรวดเร็ว
  • การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ และทิศทางการดำเนินธุรกิจ
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • ดำเนินธุรกิจตามกฎหมาย หลักธรรมาภิบาล วัตถุประสงค์ และข้อบังคับบริษัท รวมถึงมติที่ประชุุมผู้ถือหุ้น
  • ปฏิบัติตามเงื่อนไขเจ้าหนี้อย่างเคร่งครัด
  • รับฟังความคิดเห็นสะท้อนกลับจากผู้ถือหุ้นและ นักลงทุุน
  • ร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงาน
  • การกำกับดููแลกิจการที่ดี
  • การบริหารจัดการความยั่งยืนขององค์กร
สื่อมวลชน/
สื่อออนไลน์
  • ดำเนินกิจกรรมการสื่อสารผ่านเครื่องมือสื่อสารในทุกรูปแบบ
  • นำเยี่ยมชมกิจการ
  • การแถลงข่าว ให้สัมภาษณ์เป็นประจำ
  • สนับสนุนและมีส่วนร่วมในกิจกรรม
  • เปิดช่องทางรับข้อร้องเรียน
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • การเปิดเผยข้อมูลการดำเนินงานอย่างครบถ้วน โปร่งใส และรวดเร็ว
  • ผลกระทบจากการดำเนินธุรกิจที่มีต่อสังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม
  • การดำเนินโครงการเพื่อสังคม
  • ความผูกพักกับผู้มีส่วนได้เสีย
  • ปฏิบัติต่อสื่อมวลชนด้วยความสัมพันธ์ที่ดี
  • ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์บนพื้นฐาน ข้อเท็จจริงและทันต่อเหตุการณ์เพื่อการเผยแพร่สู่สาธารณชนอย่างเป็นทางการ
  • ติดตามข้อมูลข่าวสาร เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งในการกำหนดแนวทางการดำเนินงานในอนาคต
  • เปิดเผยข้อมูลที่ครบถ้วนและโปร่งใส
  • สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อสื่อมวลชน
  • สนับสนุนและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสื่อมวลชน
ภาครัฐ
  • การร่วมประชุม เข้าพบในโอกาสต่างๆ
  • ร่วมมือและสนับสนุนการริเริ่มเพื่อพัฒนาโครงการและกิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์
  • เปิดช่องทางรับข้อร้องเรียน
  • การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง
  • การเป็นตัวอย่างการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
  • การเปิดเผยข้อมูลการดำเนินงานอย่างครบถ้วน โปร่งใส และรวดเร็ว
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • ติดตามและปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด
  • ร่วมมือและสนับสนุนการริเริ่มพัฒนาโครงการและกิจกรรมสร้างสรรค์อันเป็นประโยชน์ต่อประเทศ
  • สื่อสารและเปิดเผยข้อมูลการดำเนินงานอย่างครบถ้วน โปร่งใส และรวดเร็ว พร้อมรับฟังข้อเสนอแนะเพื่อนำมาปรับปรุงแผนการดำเนินงาน
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • การกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของกลุ่มบริษัทในกลุ่มธุรกิจฯ
  • การร่วมมือกับพันธมิตร เพื่อขับเคลื่อนพัฒนาอย่างยั่งยืน
ผู้จัดหา
  • ประชุมร่วมกับผู้จัดหา
  • การจัดหลักสูตรอบรมพัฒนาผู้จัดหา
  • เปิดรับข้อร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะ
  • ดำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส
  • ความเสมอภาคในการทำธุรกิจ
  • สิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติด้านแรงงานตลอดห่วงโซ่อุปทาน
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • การจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างรับผิดชอบ
  • สัญญาซื้อ ขายที่เป็นธรรมและโปร่งใส
  • จัดหลักสูตรการเพิ่มศักยภาพในการพัฒนาผู้จัดหา
  • ดำเนินงานตามนโยบายสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติด้านแรงงานตลอดห่วงโซ่อุปทาน
  • การพัฒนาศักยภาพของผู้จัดหา
  • การสื่อสารจรรยาบรรณสำหรับคู่ค้าธุรกิจ (Supplier Code of Conduct)
  • การดำเนินธุรกิจบนพื้นฐานของจริยธรรมและความโปร่งใส
คู่แข่ง
  • การประชุมร่วมกับองค์กรกลาง อาทิสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
  • รับข้อมูลข่าวสารจากสื่อและเวทีสาธารณะ
  • เปิดช่องทางรับข้อร้องเรียน
  • ปฏิบัติตามเงื่อนไข กฎระเบียบ และกฎหมาย
  • การแข่งขันที่มีความเท่าเทียม โปร่งใส และเป็นธรรม
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • ปฏิบัติตามกฎกติกา/จริยธรรมการแข่งขันที่ดีจัดให้มีระบบการควบคุุมดููแลมิให้มีการดำเนินการใดๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความลับทางการค้าของคู่แข่ง
  • ไม่ทำลายชื่อเสียงคู่แข่งด้วยการให้ร้ายโดยปราศจากความจริง
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • การต่อต้านคอร์รัปชัน
องค์กรไม่
แสวงหากำไร
  • รับฟังและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเป็นประจำ
  • สนับสนุุนการทำงานเป็นเครือข่ายตามความเหมาะสม
  • นำเยี่ยมชมกิจการ
  • เปิดช่องทางรับข้อร้องเรียน
  • ผลกระทบจากการดำเนินธุรกิจที่มีที่ต่อสังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม
  • การดำเนินโครงการเพื่อสังคม
  • การเปิดเผยข้อมููลต่อสาธารณะอย่างครบถ้วน
  • โปร่งใส และรวดเร็ว
  • สิทธิมนุษยชน และการปฏิบัติด้านแรงงาน
  • คุณค่าทางสังคม
  • การปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
  • ประสานงานในพื้นที่เพื่อแก้ปัญหาร่วมกันรับฟังข้อเสนอแนะและนำมาใช้ในการกำหนดแนวทางดำเนินงาน
  • สื่อสารและเปิดเผยข้อมูลการดำเนินงานอย่างครบถ้วน
  • โปร่งใส และรวดเร็ว พร้อมรับฟังข้อเสนอแนะเพื่อนำมาปรับปรุงแผนการดำเนินงาน
  • การดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติด้านแรงงาน
  • การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณค่าทางสังงคม
  • การปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
เจ้าหนี้และธนาคาร
  • จดหมายถึงเจ้าหนี้
  • ทาง Mail / Social Media ต่างๆ
  • เปิดช่องทางรับข้อร้องเรียน
  • ชำระเงินครบถ้วนและตรงเวลา
  • ข้อมูลทางการเงินที่ถูกต้อง และโปร่งใส
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • ให้ข้อมูลทางการเงินที่ถูกต้องครบถ้วน
  • ปฏิบัติตามเงื่อนไขสัญญา
  • ปฏิบัติตามเงื่อนไขอย่างเคร่งครัด
  • ชำระหนี้ตรงเวลา
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • การต่อต้านคอร์รัปชัน
ดาวน์โหลดกรอบการดำเนินงานกับผู้มีส่วนได้เสีย
การสานเสวนาชุมชน

เพื่อให้การดำเนินงานด้านสนับสนุนชุมชนเป็นไปอย่างมีมาตรฐาน ได้กำหนดแนวทางปฏิบัติงานชุมชนโดยการสานเสาวนาร่วมกับชุมชน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และลดข้อกังวลต่าง ๆ ของชุมชนที่ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมจากการดำเนินธุรกิจ ประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอน

การจัดลำดับ
ควาสำคัญของชุมชน
ประเมินระดับความสำคัญของชุมชนที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานขององค์กร และกำหนดวิธีการและระดับการมีส่วนร่วมกับชุมชนที่จำแนกตามระดับความสำคัญ ผ่านการสานเสาวนา
การจัดทำแผนงาน
การมีส่วนร่วม
กับชุมชน
นำข้อมูลชุมชนมาจัดทำเป็นแผนงานการมีส่วนร่วมกับชุมชนตามระดับความสำคัญของชุมชนที่ได้จำแนกไว้
การดำเนินงานตามแผนการมีส่วนร่วมกับชุมชน
ดำเนินงานการมีส่วนร่วมกับชุมชนตามรูปแบบที่เหมาะสม และตามความต้องการของชุมชน โดยมุ่งเน้นประเด็นและความสนใจในผลกระทบที่มีต่อชุมชน
การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลชุมชน
รวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงานการพัฒนาชุมชนทั้งหมด สำหรับการติดตามความก้าวหน้าและการขยายผล ที่ได้รับความเห็นชอบและตกลงร่วมกันกับชุมชน
การตอบสนอง
การติดตามผล และ
การดำเนินงานต่อเนื่อง
พัฒนาความร่วมมือและประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอกที่เกี่ยวข้องให้กระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชนดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงนำสิ่งที่พบมาปรับปรุงแนวทางการดำเนินงานพัฒนาชุมชนในปีต่อไป
การสำรวจความคิดเห็นชุมชน

บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ มีการดำเนินการในด้านธุรกิจการขนส่งทางน้ำ ในนามบริษัท ท่าเรืออยุธยา และไอซีดี จำกัด ทางบริษัทจึงได้มีการดำเนินการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) โดยทำการสำรวจแบบสอบถามถึงเรื่องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมกับชุมชนในรัศมี 500 เมตร และมีการดำเนินการจัดเวทีรับฟังความเห็นของประชาชน 2 ครั้ง/ปี โดยการแบ่งผู้มีส่วนได้เสียออกเป็น 7 กลุ่ม ตามแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการจัดทำรายงานการประเมิน
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ได้แก่

  • กลุ่ม 1
    ผู้ที่ได้รับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ
  • กลุ่ม 2
    ผู้ที่รับผิดชอบจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
  • กลุ่ม 3
    ผู้ที่ทำหน้าที่พิจารณารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
  • กลุ่ม 4
    หน่วยงานราชการในระดับต่างๆ
  • กลุ่ม 5
    องค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
    องค์กรพัฒนาเอกชน
  • กลุ่ม 6
    สื่อมวลชน
  • กลุ่ม 7
    ประชาชนผู้สนใจ
มาตรการจากการสำรวจความคิดเห็นชุมชน
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบเรื่องตลิ่งพัง

โครงการ “ปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยรอบสถานประกอบการ และปลูกต้นไม้ยืนต้นฝั่งตรงข้ามโครงการท่าเทียบเรือขนส่งสินค้า เป็นระยะทาง 1,250 เมตร จากบริเวณวัดทอง ถึงวัดแก้ว ต้นไม้ที่ทำการปลูก ได้แก่

  • ต้นไผ่ 300 ต้น (ยึดเกาะหน้าดิน ป้องกันการทรุดตัวของตลิ่ง)
  • ต้นสน 300 ต้น (ดักจับฝุ่นละอองจากการขนถ่ายสินค้าหน้าท่า)
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมอุทกพลศาสตร์ วิศวกรรมแม่น้ำและการเปลี่ยนแปลงแนวลำน้ำ
  • ต้องมีการขึงผ้าใบหรือผ้าพลาสติกระหว่างเรือลำเลียงสินค้าและท่าเทียบเรือ เพื่อป้องกันสินค้าร่วงหล่นลงแม่น้ำป่าสัก
  • กิจกรรมการเดินเรือในขณะลำเลียงสินค้าเต็มเรือ ต้องเดินเรืออย่างระมัดระวังเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางเรือ โดยเฉพาะชาวประมงที่ทำการประมงตามเส้นทางเดินเรือขนส่งสินค้า และการฟุ้งกระจายของตะกอนท้องน้ำที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อปลาและสิ่งมีชีวิตในน้ำ
  • ในกรณีฤดูแล้งที่ระดับน้ำในแม่น้ำลดลงให้โครงการใช้เรือลำเลียงสินค้าที่มีขนาดกินน้ำลึกให้สัมพันธ์กับระดับน้ำในแม่น้ำป่าสัก เพื่อป้องกันไม่ให้เรือติดท้องน้ำ และเกิดการฟ้องกระจายของตะกอนท้องน้ำ
  • กรณีเกิดความเสียหายกับแนวตลิ่งริมแม่น้ำป่าสักที่เรือขนถ่ายสินค้าของโครงการใช้สัญจรไปมา หากพบว่าความเสียหายที่เกิดขึ้น เกิดจากเรือขนถ่ายสินค้าของโครงการให้ดำเนินการแก้ไข/ ซ่อมแซมให้มีสภาพดีโดยเร็วที่สุด
ความท้าทาย CPP

การสร้างความผูกพันกับผู้มีส่วนได้เสียอย่างครอบคลุม ถือเป็นหัวใจสำคัญและถูกนำเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนากลยุทธ์ของทุกบริษัทในกลุ่มการค้าระหว่างประเทศ เพื่อสร้างสมดุลระหว่างการดำเนินงานขององค์กรและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้มีส่วนได้เสีย โดยดำเนินการพิจารณาความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองด้วยแนวทางที่สามารถบริหารจัดการประเด็นที่มีความสำคัญทั้งต่อธุรกิจและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเหมาะสม

สนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
SDG 16
ความสงบสุข ความยุติธรรม และสถาบันที่เข้มแข็ง
16.7
สร้างหลักประกันว่าจะมีกระบวนการตัดสินใจที่มีความรับผิดชอบ ครอบคลุม มีส่วนร่วม และมีความเป็นตัวแทนที่ดี ในทุกระดับการตัดสินใจ
SDG 17
ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
17.6
ยกระดับหุ้นส่วนความร่วมมือระดับโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
17.7
สนับสนุนความร่วมมือที่มีประสิทธิภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2563
ทุกบริษัท
มีการกำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย และหาความต้องการและความคาดหวัง
การรับฟังเสียงจากผู้มีส่วนได้เสีย
มีการสำรวจความผูกพันและความไว้วางใจของ 14 กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียที่มีต่อองค์กรทุกปี
เป้าหมายปี 2563
ร้อยละ 100 ของบริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด และบริษัทในกลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ มีกระบวนการสร้างความผูกพันกับผู้มีส่วนได้เสีย
ผลลัพธ์ปี 2563 เทียบเป้าหมาย
2560
2561
2562
2563
บรรลุตาม
เป้าหมาย 2563
  • จำนวนสายธุรกิจ
    2
    7
    7
    7
    100%
  • จำนวนบริษัท
    2
    7
    7
    7
    100%
กรอบการดำเนินงานกับผู้มีส่วนได้เสีย
แนวทางการบริหารจัดการ
บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด และบริษัทในกลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศได้กำหนดแนวทางการบริหารจัดการด้านความผูกพันกับผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียได้ทันการณ์ และเป็นการสร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจจากทุกฝ่าย โดยพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียอย่างต่อเนื่อง และครอบคลุมในเรื่องการระบุผู้มีส่วนได้เสีย ความต้องการหรือความคาดหวัง พัฒนาช่องทางการมีส่วนร่วม ช่องทางการรับข้อร้องเรียน และกระบวนการตรวจสอบข้อร้องเรียนที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งจะต้องทำให้พนักงานในองค์กรตระหนัก เข้าใจ และปฏิบัติในเรื่องนี้อย่างเป็นระบบ ทั้งนี้ผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท มีกระบวนการระบุผู้มีส่วนได้เสีย ดังนี้
1
พิจารณากลุ่มผู้มีส่วนได้เสียจาก 3 ปัจจัย ได้แก่
  • การกำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียตามคู่ค้าสำคัญ ซึ่งมี 14 กลุ่ม
  • การกำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียตามเครือเจริญโภคภัณฑ์ ซึ่งมี 10 กลุ่ม
  • การกำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียตามระบบมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม CSR ซึ่งมี 8 กลุ่ม
2
ประชุมผู้บริหาร และคณะกรรมการพิจารณากลุ่มผู้มีส่วนได้เสียครอบคลุมทั้ง 3 ปัจจัย จึงได้กำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด เป็นทั้งหมด 14 กลุ่ม
กระบวนการสร้างความผูกพันผู้มีส่วนได้เสีย
ในกระบวนการจัดทำรายงานความยั่งยืน ประจำ ปี 2563 ของ บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด เราสร้างการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียในระดับกลุ่มธุรกิจ โดยการทบทวนประเด็นการฟังเสียงจากผู้มีส่วนได้เสียจากปี 2562 ผ่านกลไกต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบประเด็นด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์กร และรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และความคาดหวัง ของกลุ่มต่าง ๆ ทำ ให้เราเข้าใจประเด็นสำคัญร่วมที่ผู้มีส่วนได้เสียมีความคิดเห็นตรงกัน และได้นำมาวางแผนเพื่อตอบสนองประเด็นดังกล่าว ตลอดจนผลักดันให้เกิดการปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และเพื่อตอบสนองความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียที่มีความสนใจ และความคาดหวังที่แตกต่างกัน กลุ่มธุรกิจฯ จึงสร้างช่องทางการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย ผ่านกลไกการสื่อสารที่เอื้อต่อการสานสัมพันธ์ แลกเปลี่ยนทัศนะ ซึ่งความถี่ในการสื่อสารของแต่ละกลุ่มจะแปรผันไปตามแผนงานและความต้องการ ดังแสดงในตารางต่อไปนี้
กรอบการดำเนินงานกับผู้มีส่วนได้เสีย
กลุ่มผู้มี
ส่วนได้เสีย
ช่องทาง
การมีส่วนร่วม
ประเด็นที่อยู่
ในความสนใจ
ประเด็นที่
มีนัยสำคัญด้านความยั่งยืน
การดำเนินงาน
เพื่อตอบสนอง
ประโยชน์ที่ผู้มี
ส่วนได้เสียได้รับ
พนักงาน
  • อินทราเน็ต, CPTG & CROP Connect Mobile Applications
  • อีเมล และ สื่อโซเชียล
  • พูดคุยและประชุมคณะทำงานต่างๆ
  • การดำเนินงานของคณะกรรมการสวัสดิการและคณะกรรมการความปลอดภัย (คปอ.)
  • การสำรวจความพึงพอใจและความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร
  • เปิดช่องทางรับฟังข้อเสนอแนะ และข้อร้องเรียน
  • ค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์ และสวัสดิการ
  • ความก้าวหน้าในอาชีพ
  • สภาพแวดล้อมในการทำงาน
  • ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • สิทธิมนุษยชน และการปฏิบัติด้านแรงงาน
  • การพัฒนาผู้นำและ ทรัพยากรบุคคล
  • ปฏิบัติต่อพนักงานตามหลักสิทธิมนุุษยชน
  • พัฒนาศักยภาพพนักงานอย่างต่อเนื่อง
  • รักษาไว้ซึ่งพนักงานที่เก่งและดีพัฒนาระบบบริหารงานบุุคคล
  • ดำเนินงานตามมาตรฐานแรงงานไทย
  • กำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
  • พนักงานได้รับการฝึกอบรมที่เหมาะสม
  • การเตรียมความพร้อมและพัฒนาผู้นำ
  • การดำเนินการกับข้อร้องเรียนและแจ้งเบาะแส
  • การตรวจประเมินการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
ชุมชนและสังคม
  • รายงานความยั่งยืนประจำปี/ รายงาน CSR
  • รับฟังและสำรวจความคิดเห็น
  • เปิดช่องรับข้อร้องเรียน
  • สานเสาวนาชุมชน ลงพื้นที่เยี่ยมชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
  • จัดกิจกรรมส่งสริมคุณภาพชีวิต
  • ผลกระทบจากการดำเนินธุรกิจที่มีผลต่อชุมชน และสิ่งแวดล้อม
  • การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตชุมชน
  • มีกระบวนการข้อร้องเรียนอย่างเป็นธรรม
  • การสื่อสารการดำเนินงานอย่างรวดเร็วและโปร่งใส
  • คุณค่าทางสังคม
  • การจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
  • การดูแลรักษาทรัพยากรน้ำ
  • การปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
  • ประสานงานในพื้นที่เพื่อแก้ปัญหาร่วมกันรับฟังข้อเสนอแนะและนำมาใช้ในการกำหนดแนวทางดำเนินงาน
  • สื่อสารและเปิดเผยข้อมููลการดำเนินงานอย่างครบถ้วน
  • โปร่งใส และรวดเร็ว พร้อมรับฟังข้อเสนอแนะเพื่อนำมาปรับปรุงแผนการดำเนินงาน
  • การดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติด้านแรงงาน
  • การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุุณค่าทางสังงคม
  • การปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ/li>
  • การปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
ลูกค้า/ ผู้บริโภค
  • ศูนย์บริการลูกค้า
  • ช่องทางรับฟังความคิดเห็นและข้อร้องเรียน
  • ออกสำรวจ และสัมภาษณ์
  • พบปะลูกค้า ลงพื้นที่เยี่ยมเยียน
  • ทาง Mail / Social Media ต่างๆ
  • คุณภาพสินค้าที่ดีและเหมาะสมกับราคา
  • ความปลอดภัยอาหาร
  • การตรวจสอบย้อนกลับของผลิตภัณฑ์
  • ข้อมูลผลิตภัณฑ์ และบริการหลังการขาย
  • ความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล
  • สุขภาพและสุขภาวะที่ดี
  • การปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
  • พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่ได้มาตรฐานทั้งคุณภาพและความปลอดภัย
  • สื่อสารลูกค้าและผู้บริโภคเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และบริการผ่านฉลากผลิตภัณฑ์ และรักษาความลับของลูกค้า
  • พัฒนาระบบตรวจสอบย้อนกลับได้ของผลิตภัณฑ์
  • การมุ่งเน้นกระบวนการผลิตที่มีคุณภาพ
  • ฉลากสินค้า เว็บไซต์ และสายด่วนเพื่อผู้บริโภค
  • การจัดการวัตถุดิบและการตรวจสอบย้อนกลับ
คู่ค้า
  • ประชุมร่วมกับคู่ค้า
  • การจัดหลักสูตรอบรมพัฒนาคู่ค้า
  • โครงการสร้างเสริมศักยภาพคู่ค้า ความร่วมมือ ร่วมสร้างนวัตกรรม
  • ประเมินให้คำปรึกษา และบริการวิชาการ
  • เปิดช่องทางรับ ข้อร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะ
  • ดำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส
  • ความเสมอภาคในการทำธุรกิจ
  • การส่งเสริมศักยภาพคู่ค้าในการดำเนินธุรกิจ
  • Hสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติด้านแรงงานตลอดห่วงโซ่อุปทาน
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • การจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างรับผิดชอบ
  • พัฒนาโครงการความร่วมมือกับคู่ค้าอย่างต่อเนื่องโดยจัดหลักสูตรการเพิ่มศักยภาพในการพัฒนาคู่ค้า
  • พัฒนาข้อกำหนดการตรวจประเมินคู่ค้าตามนโยบายด้านการจัดหาอย่างยั่งยืน
  • สื่อสารให้คู่ค้าเข้าใจข้อกำหนดต่างๆ
  • ปฏิบัติต่อคู่ค้าทุกรายด้วยความเสมอภาคตามข้อตกลง และจรรยาบรรณทางธุรกิจ
  • การพัฒนาศักยภาพของคู่ค้าธุรกิจ
  • การสื่อสารจรรยาบรรณสำหรบคู่ค้าธุรกิจ (Supplier Code of Conduct)
  • การดำเนินธุรกิจบนพื้นฐานของจริยธรรมและความโปร่งใส
ผู้ถือหุ้น/
นักลงทุน
  • ประชุมชี้แจงผู้ถือหุ้น และนักลงทุน
  • นำเยี่ยมชมกิจการ
  • รายงานความยั่งยืน
  • เปิดช่องทางการรับข้อร้องเรียน
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • การเปิดเผยข้อมูลการดำเนินงานอย่างครบถ้วนโปร่งใส และรวดเร็ว
  • การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ และทิศทางการดำเนินธุรกิจ
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • ดำเนินธุรกิจตามกฎหมาย หลักธรรมาภิบาล วัตถุประสงค์ และข้อบังคับบริษัท รวมถึงมติที่ประชุุมผู้ถือหุ้น
  • ปฏิบัติตามเงื่อนไขเจ้าหนี้อย่างเคร่งครัด
  • รับฟังความคิดเห็นสะท้อนกลับจากผู้ถือหุ้นและ นักลงทุุน
  • ร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงาน
  • การกำกับดููแลกิจการที่ดี
  • การบริหารจัดการความยั่งยืนขององค์กร
สื่อมวลชน/
สื่อออนไลน์
  • ดำเนินกิจกรรมการสื่อสารผ่านเครื่องมือสื่อสารในทุกรูปแบบ
  • นำเยี่ยมชมกิจการ
  • การแถลงข่าว ให้สัมภาษณ์เป็นประจำ
  • สนับสนุนและมีส่วนร่วมในกิจกรรม
  • เปิดช่องทางรับข้อร้องเรียน
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • การเปิดเผยข้อมูลการดำเนินงานอย่างครบถ้วน โปร่งใส และรวดเร็ว
  • ผลกระทบจากการดำเนินธุรกิจที่มีต่อสังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม
  • การดำเนินโครงการเพื่อสังคม
  • ความผูกพักกับผู้มีส่วนได้เสีย
  • ปฏิบัติต่อสื่อมวลชนด้วยความสัมพันธ์ที่ดี
  • ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์บนพื้นฐาน ข้อเท็จจริงและทันต่อเหตุการณ์เพื่อการเผยแพร่สู่สาธารณชนอย่างเป็นทางการ
  • ติดตามข้อมูลข่าวสาร เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งในการกำหนดแนวทางการดำเนินงานในอนาคต
  • เปิดเผยข้อมูลที่ครบถ้วนและโปร่งใส
  • สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อสื่อมวลชน
  • สนับสนุนและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสื่อมวลชน
ภาครัฐ
  • การร่วมประชุม เข้าพบในโอกาสต่างๆ
  • ร่วมมือและสนับสนุนการริเริ่มเพื่อพัฒนาโครงการและกิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์
  • เปิดช่องทางรับข้อร้องเรียน
  • การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง
  • การเป็นตัวอย่างการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
  • การเปิดเผยข้อมูลการดำเนินงานอย่างครบถ้วน โปร่งใส และรวดเร็ว
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • ติดตามและปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด
  • ร่วมมือและสนับสนุนการริเริ่มพัฒนาโครงการและกิจกรรมสร้างสรรค์อันเป็นประโยชน์ต่อประเทศ
  • สื่อสารและเปิดเผยข้อมูลการดำเนินงานอย่างครบถ้วน โปร่งใส และรวดเร็ว พร้อมรับฟังข้อเสนอแนะเพื่อนำมาปรับปรุงแผนการดำเนินงาน
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • การกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของกลุ่มบริษัทในกลุ่มธุรกิจฯ
  • การร่วมมือกับพันธมิตร เพื่อขับเคลื่อนพัฒนาอย่างยั่งยืน
ผู้จัดหา
  • ประชุมร่วมกับผู้จัดหา
  • การจัดหลักสูตรอบรมพัฒนาผู้จัดหา
  • เปิดรับข้อร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะ
  • ดำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส
  • ความเสมอภาคในการทำธุรกิจ
  • สิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติด้านแรงงานตลอดห่วงโซ่อุปทาน
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • การจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างรับผิดชอบ
  • สัญญาซื้อ ขายที่เป็นธรรมและโปร่งใส
  • จัดหลักสูตรการเพิ่มศักยภาพในการพัฒนาผู้จัดหา
  • ดำเนินงานตามนโยบายสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติด้านแรงงานตลอดห่วงโซ่อุปทาน
  • การพัฒนาศักยภาพของผู้จัดหา
  • การสื่อสารจรรยาบรรณสำหรับคู่ค้าธุรกิจ (Supplier Code of Conduct)
  • การดำเนินธุรกิจบนพื้นฐานของจริยธรรมและความโปร่งใส
คู่แข่ง
  • การประชุมร่วมกับองค์กรกลาง อาทิสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
  • รับข้อมูลข่าวสารจากสื่อและเวทีสาธารณะ
  • เปิดช่องทางรับข้อร้องเรียน
  • ปฏิบัติตามเงื่อนไข กฎระเบียบ และกฎหมาย
  • การแข่งขันที่มีความเท่าเทียม โปร่งใส และเป็นธรรม
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • ปฏิบัติตามกฎกติกา/จริยธรรมการแข่งขันที่ดีจัดให้มีระบบการควบคุุมดููแลมิให้มีการดำเนินการใดๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความลับทางการค้าของคู่แข่ง
  • ไม่ทำลายชื่อเสียงคู่แข่งด้วยการให้ร้ายโดยปราศจากความจริง
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • การต่อต้านคอร์รัปชัน
องค์กรไม่
แสวงหากำไร
  • รับฟังและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเป็นประจำ
  • สนับสนุุนการทำงานเป็นเครือข่ายตามความเหมาะสม
  • นำเยี่ยมชมกิจการ
  • เปิดช่องทางรับข้อร้องเรียน
  • ผลกระทบจากการดำเนินธุรกิจที่มีที่ต่อสังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม
  • การดำเนินโครงการเพื่อสังคม
  • การเปิดเผยข้อมููลต่อสาธารณะอย่างครบถ้วน
  • โปร่งใส และรวดเร็ว
  • สิทธิมนุษยชน และการปฏิบัติด้านแรงงาน
  • คุณค่าทางสังคม
  • การปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
  • ประสานงานในพื้นที่เพื่อแก้ปัญหาร่วมกันรับฟังข้อเสนอแนะและนำมาใช้ในการกำหนดแนวทางดำเนินงาน
  • สื่อสารและเปิดเผยข้อมูลการดำเนินงานอย่างครบถ้วน
  • โปร่งใส และรวดเร็ว พร้อมรับฟังข้อเสนอแนะเพื่อนำมาปรับปรุงแผนการดำเนินงาน
  • การดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติด้านแรงงาน
  • การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณค่าทางสังงคม
  • การปกป้องระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
เจ้าหนี้และธนาคาร
  • จดหมายถึงเจ้าหนี้
  • ทาง Mail / Social Media ต่างๆ
  • เปิดช่องทางรับข้อร้องเรียน
  • ชำระเงินครบถ้วนและตรงเวลา
  • ข้อมูลทางการเงินที่ถูกต้อง และโปร่งใส
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • ให้ข้อมูลทางการเงินที่ถูกต้องครบถ้วน
  • ปฏิบัติตามเงื่อนไขสัญญา
  • ปฏิบัติตามเงื่อนไขอย่างเคร่งครัด
  • ชำระหนี้ตรงเวลา
  • การกำกับดูแลกิจการ
  • การต่อต้านคอร์รัปชัน
ดาวน์โหลดกรอบการดำเนินงานกับผู้มีส่วนได้เสีย
การสานเสวนาชุมชน

เพื่อให้การดำเนินงานด้านสนับสนุนชุมชนเป็นไปอย่างมีมาตรฐาน ได้กำหนดแนวทางปฏิบัติงานชุมชนโดยการสานเสาวนาร่วมกับชุมชน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และลดข้อกังวลต่าง ๆ ของชุมชนที่ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมจากการดำเนินธุรกิจ ประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอน

การจัดลำดับ
ควาสำคัญของชุมชน
ประเมินระดับความสำคัญของชุมชนที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานขององค์กร และกำหนดวิธีการและระดับการมีส่วนร่วมกับชุมชนที่จำแนกตามระดับความสำคัญ ผ่านการสานเสาวนา
การจัดทำแผนงาน
การมีส่วนร่วม
กับชุมชน
นำข้อมูลชุมชนมาจัดทำเป็นแผนงานการมีส่วนร่วมกับชุมชนตามระดับความสำคัญของชุมชนที่ได้จำแนกไว้
การดำเนินงานตามแผนการมีส่วนร่วมกับชุมชน
ดำเนินงานการมีส่วนร่วมกับชุมชนตามรูปแบบที่เหมาะสม และตามความต้องการของชุมชน โดยมุ่งเน้นประเด็นและความสนใจในผลกระทบที่มีต่อชุมชน
การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลชุมชน
รวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงานการพัฒนาชุมชนทั้งหมด สำหรับการติดตามความก้าวหน้าและการขยายผล ที่ได้รับความเห็นชอบและตกลงร่วมกันกับชุมชน
การตอบสนอง
การติดตามผล และ
การดำเนินงานต่อเนื่อง
พัฒนาความร่วมมือและประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอกที่เกี่ยวข้องให้กระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชนดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงนำสิ่งที่พบมาปรับปรุงแนวทางการดำเนินงานพัฒนาชุมชนในปีต่อไป
การสำรวจความคิดเห็นชุมชน

บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ มีการดำเนินการในด้านธุรกิจการขนส่งทางน้ำ ในนามบริษัท ท่าเรืออยุธยา และไอซีดี จำกัด ทางบริษัทจึงได้มีการดำเนินการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) โดยทำการสำรวจแบบสอบถามถึงเรื่องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมกับชุมชนในรัศมี 500 เมตร และมีการดำเนินการจัดเวทีรับฟังความเห็นของประชาชน 2 ครั้ง/ปี โดยการแบ่งผู้มีส่วนได้เสียออกเป็น 7 กลุ่ม ตามแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการจัดทำรายงานการประเมิน
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ได้แก่

  • กลุ่ม 1
    ผู้ที่ได้รับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ
  • กลุ่ม 2
    ผู้ที่รับผิดชอบจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
  • กลุ่ม 3
    ผู้ที่ทำหน้าที่พิจารณารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
  • กลุ่ม 4
    หน่วยงานราชการในระดับต่างๆ
  • กลุ่ม 5
    องค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
    องค์กรพัฒนาเอกชน
  • กลุ่ม 6
    สื่อมวลชน
  • กลุ่ม 7
    ประชาชนผู้สนใจ
มาตรการจากการสำรวจความคิดเห็นชุมชน
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบเรื่องตลิ่งพัง

โครงการ “ปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยรอบสถานประกอบการ และปลูกต้นไม้ยืนต้นฝั่งตรงข้ามโครงการท่าเทียบเรือขนส่งสินค้า เป็นระยะทาง 1,250 เมตร จากบริเวณวัดทอง ถึงวัดแก้ว ต้นไม้ที่ทำการปลูก ได้แก่

  • ต้นไผ่ 300 ต้น (ยึดเกาะหน้าดิน ป้องกันการทรุดตัวของตลิ่ง)
  • ต้นสน 300 ต้น (ดักจับฝุ่นละอองจากการขนถ่ายสินค้าหน้าท่า)
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมอุทกพลศาสตร์ วิศวกรรมแม่น้ำและการเปลี่ยนแปลงแนวลำน้ำ
  • ต้องมีการขึงผ้าใบหรือผ้าพลาสติกระหว่างเรือลำเลียงสินค้าและท่าเทียบเรือ เพื่อป้องกันสินค้าร่วงหล่นลงแม่น้ำป่าสัก
  • กิจกรรมการเดินเรือในขณะลำเลียงสินค้าเต็มเรือ ต้องเดินเรืออย่างระมัดระวังเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางเรือ โดยเฉพาะชาวประมงที่ทำการประมงตามเส้นทางเดินเรือขนส่งสินค้า และการฟุ้งกระจายของตะกอนท้องน้ำที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อปลาและสิ่งมีชีวิตในน้ำ
  • ในกรณีฤดูแล้งที่ระดับน้ำในแม่น้ำลดลงให้โครงการใช้เรือลำเลียงสินค้าที่มีขนาดกินน้ำลึกให้สัมพันธ์กับระดับน้ำในแม่น้ำป่าสัก เพื่อป้องกันไม่ให้เรือติดท้องน้ำ และเกิดการฟ้องกระจายของตะกอนท้องน้ำ
  • กรณีเกิดความเสียหายกับแนวตลิ่งริมแม่น้ำป่าสักที่เรือขนถ่ายสินค้าของโครงการใช้สัญจรไปมา หากพบว่าความเสียหายที่เกิดขึ้น เกิดจากเรือขนถ่ายสินค้าของโครงการให้ดำเนินการแก้ไข/ ซ่อมแซมให้มีสภาพดีโดยเร็วที่สุด
กลับไป
ด้านบน
อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับ

HEALTH : LIVING WELL
การสร้างความผูกพันกับ
ผู้มีส่วนได้เสีย