การสร้างความผูกพันกับผู้มีส่วนได้เสียอย่างครอบคลุม ถือเป็นหัวใจสำคัญและถูกนำเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนากลยุทธ์ของทุกบริษัทในกลุ่มการค้าระหว่างประเทศ เพื่อสร้างสมดุลระหว่างการดำเนินงานขององค์กรและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้มีส่วนได้เสีย โดยดำเนินการพิจารณาความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองด้วยแนวทางที่สามารถบริหารจัดการประเด็นที่มีความสำคัญทั้งต่อธุรกิจและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเหมาะสม




เป้าหมาย 2563
-
จำนวนสายธุรกิจ2777100%
-
จำนวนบริษัท2777100%
- การกำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียตามคู่ค้าสำคัญ ซึ่งมี 14 กลุ่ม
- การกำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียตามเครือเจริญโภคภัณฑ์ ซึ่งมี 10 กลุ่ม
- การกำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียตามระบบมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม CSR ซึ่งมี 8 กลุ่ม


กลุ่มผู้มี ส่วนได้เสีย |
ช่องทาง การมีส่วนร่วม |
ประเด็นที่อยู่ ในความสนใจ |
ประเด็นที่ มีนัยสำคัญด้านความยั่งยืน |
การดำเนินงาน เพื่อตอบสนอง |
ประโยชน์ที่ผู้มี ส่วนได้เสียได้รับ |
---|---|---|---|---|---|
พนักงาน |
|
|
|
|
|
ชุมชนและสังคม |
|
|
|
|
|
ลูกค้า/ ผู้บริโภค |
|
|
|
|
|
คู่ค้า |
|
|
|
|
|
ผู้ถือหุ้น/ นักลงทุน |
|
|
|
|
|
สื่อมวลชน/ สื่อออนไลน์ |
|
|
|
|
|
ภาครัฐ |
|
|
|
|
|
ผู้จัดหา |
|
|
|
|
|
คู่แข่ง |
|
|
|
|
|
องค์กรไม่ แสวงหากำไร |
|
|
|
|
|
เจ้าหนี้และธนาคาร |
|
|
|
|
|

เพื่อให้การดำเนินงานด้านสนับสนุนชุมชนเป็นไปอย่างมีมาตรฐาน ได้กำหนดแนวทางปฏิบัติงานชุมชนโดยการสานเสาวนาร่วมกับชุมชน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และลดข้อกังวลต่าง ๆ ของชุมชนที่ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมจากการดำเนินธุรกิจ ประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอน
ควาสำคัญของชุมชน
การมีส่วนร่วม
กับชุมชน
การติดตามผล และ
การดำเนินงานต่อเนื่อง



บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
มีการดำเนินการในด้านธุรกิจการขนส่งทางน้ำ ในนามบริษัท ท่าเรืออยุธยา
และไอซีดี จำกัด ทางบริษัทจึงได้มีการดำเนินการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
(EIA)
โดยทำการสำรวจแบบสอบถามถึงเรื่องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมกับชุมชนในรัศมี 500
เมตร และมีการดำเนินการจัดเวทีรับฟังความเห็นของประชาชน 2 ครั้ง/ปี
โดยการแบ่งผู้มีส่วนได้เสียออกเป็น 7 กลุ่ม
ตามแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการจัดทำรายงานการประเมิน
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ได้แก่
-
กลุ่ม 1ผู้ที่ได้รับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ
-
กลุ่ม 2ผู้ที่รับผิดชอบจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
-
กลุ่ม 3ผู้ที่ทำหน้าที่พิจารณารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
-
กลุ่ม 4หน่วยงานราชการในระดับต่างๆ
-
กลุ่ม 5องค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
องค์กรพัฒนาเอกชน -
กลุ่ม 6สื่อมวลชน
-
กลุ่ม 7ประชาชนผู้สนใจ


โครงการ “ปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยรอบสถานประกอบการ และปลูกต้นไม้ยืนต้นฝั่งตรงข้ามโครงการท่าเทียบเรือขนส่งสินค้า เป็นระยะทาง 1,250 เมตร จากบริเวณวัดทอง ถึงวัดแก้ว ต้นไม้ที่ทำการปลูก ได้แก่

- ต้นไผ่ 300 ต้น (ยึดเกาะหน้าดิน ป้องกันการทรุดตัวของตลิ่ง)
- ต้นสน 300 ต้น (ดักจับฝุ่นละอองจากการขนถ่ายสินค้าหน้าท่า)

- ต้องมีการขึงผ้าใบหรือผ้าพลาสติกระหว่างเรือลำเลียงสินค้าและท่าเทียบเรือ เพื่อป้องกันสินค้าร่วงหล่นลงแม่น้ำป่าสัก
- กิจกรรมการเดินเรือในขณะลำเลียงสินค้าเต็มเรือ ต้องเดินเรืออย่างระมัดระวังเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางเรือ โดยเฉพาะชาวประมงที่ทำการประมงตามเส้นทางเดินเรือขนส่งสินค้า และการฟุ้งกระจายของตะกอนท้องน้ำที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อปลาและสิ่งมีชีวิตในน้ำ
- ในกรณีฤดูแล้งที่ระดับน้ำในแม่น้ำลดลงให้โครงการใช้เรือลำเลียงสินค้าที่มีขนาดกินน้ำลึกให้สัมพันธ์กับระดับน้ำในแม่น้ำป่าสัก เพื่อป้องกันไม่ให้เรือติดท้องน้ำ และเกิดการฟ้องกระจายของตะกอนท้องน้ำ
- กรณีเกิดความเสียหายกับแนวตลิ่งริมแม่น้ำป่าสักที่เรือขนถ่ายสินค้าของโครงการใช้สัญจรไปมา หากพบว่าความเสียหายที่เกิดขึ้น เกิดจากเรือขนถ่ายสินค้าของโครงการให้ดำเนินการแก้ไข/ ซ่อมแซมให้มีสภาพดีโดยเร็วที่สุด
การสร้างความผูกพันกับผู้มีส่วนได้เสียอย่างครอบคลุม ถือเป็นหัวใจสำคัญและถูกนำเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนากลยุทธ์ของทุกบริษัทในกลุ่มการค้าระหว่างประเทศ เพื่อสร้างสมดุลระหว่างการดำเนินงานขององค์กรและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้มีส่วนได้เสีย โดยดำเนินการพิจารณาความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองด้วยแนวทางที่สามารถบริหารจัดการประเด็นที่มีความสำคัญทั้งต่อธุรกิจและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเหมาะสม




เป้าหมาย 2563
-
จำนวนสายธุรกิจ2777100%
-
จำนวนบริษัท2777100%
- การกำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียตามคู่ค้าสำคัญ ซึ่งมี 14 กลุ่ม
- การกำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียตามเครือเจริญโภคภัณฑ์ ซึ่งมี 10 กลุ่ม
- การกำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียตามระบบมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม CSR ซึ่งมี 8 กลุ่ม


กลุ่มผู้มี ส่วนได้เสีย |
ช่องทาง การมีส่วนร่วม |
ประเด็นที่อยู่ ในความสนใจ |
ประเด็นที่ มีนัยสำคัญด้านความยั่งยืน |
การดำเนินงาน เพื่อตอบสนอง |
ประโยชน์ที่ผู้มี ส่วนได้เสียได้รับ |
---|---|---|---|---|---|
พนักงาน |
|
|
|
|
|
ชุมชนและสังคม |
|
|
|
|
|
ลูกค้า/ ผู้บริโภค |
|
|
|
|
|
คู่ค้า |
|
|
|
|
|
ผู้ถือหุ้น/ นักลงทุน |
|
|
|
|
|
สื่อมวลชน/ สื่อออนไลน์ |
|
|
|
|
|
ภาครัฐ |
|
|
|
|
|
ผู้จัดหา |
|
|
|
|
|
คู่แข่ง |
|
|
|
|
|
องค์กรไม่ แสวงหากำไร |
|
|
|
|
|
เจ้าหนี้และธนาคาร |
|
|
|
|
|

เพื่อให้การดำเนินงานด้านสนับสนุนชุมชนเป็นไปอย่างมีมาตรฐาน ได้กำหนดแนวทางปฏิบัติงานชุมชนโดยการสานเสาวนาร่วมกับชุมชน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และลดข้อกังวลต่าง ๆ ของชุมชนที่ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมจากการดำเนินธุรกิจ ประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอน
ควาสำคัญของชุมชน
การมีส่วนร่วม
กับชุมชน
การติดตามผล และ
การดำเนินงานต่อเนื่อง



บริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
มีการดำเนินการในด้านธุรกิจการขนส่งทางน้ำ ในนามบริษัท ท่าเรืออยุธยา
และไอซีดี จำกัด ทางบริษัทจึงได้มีการดำเนินการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
(EIA)
โดยทำการสำรวจแบบสอบถามถึงเรื่องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมกับชุมชนในรัศมี 500
เมตร และมีการดำเนินการจัดเวทีรับฟังความเห็นของประชาชน 2 ครั้ง/ปี
โดยการแบ่งผู้มีส่วนได้เสียออกเป็น 7 กลุ่ม
ตามแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการจัดทำรายงานการประเมิน
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ได้แก่
-
กลุ่ม 1ผู้ที่ได้รับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ
-
กลุ่ม 2ผู้ที่รับผิดชอบจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
-
กลุ่ม 3ผู้ที่ทำหน้าที่พิจารณารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
-
กลุ่ม 4หน่วยงานราชการในระดับต่างๆ
-
กลุ่ม 5องค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
องค์กรพัฒนาเอกชน -
กลุ่ม 6สื่อมวลชน
-
กลุ่ม 7ประชาชนผู้สนใจ


โครงการ “ปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยรอบสถานประกอบการ และปลูกต้นไม้ยืนต้นฝั่งตรงข้ามโครงการท่าเทียบเรือขนส่งสินค้า เป็นระยะทาง 1,250 เมตร จากบริเวณวัดทอง ถึงวัดแก้ว ต้นไม้ที่ทำการปลูก ได้แก่

- ต้นไผ่ 300 ต้น (ยึดเกาะหน้าดิน ป้องกันการทรุดตัวของตลิ่ง)
- ต้นสน 300 ต้น (ดักจับฝุ่นละอองจากการขนถ่ายสินค้าหน้าท่า)

- ต้องมีการขึงผ้าใบหรือผ้าพลาสติกระหว่างเรือลำเลียงสินค้าและท่าเทียบเรือ เพื่อป้องกันสินค้าร่วงหล่นลงแม่น้ำป่าสัก
- กิจกรรมการเดินเรือในขณะลำเลียงสินค้าเต็มเรือ ต้องเดินเรืออย่างระมัดระวังเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางเรือ โดยเฉพาะชาวประมงที่ทำการประมงตามเส้นทางเดินเรือขนส่งสินค้า และการฟุ้งกระจายของตะกอนท้องน้ำที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อปลาและสิ่งมีชีวิตในน้ำ
- ในกรณีฤดูแล้งที่ระดับน้ำในแม่น้ำลดลงให้โครงการใช้เรือลำเลียงสินค้าที่มีขนาดกินน้ำลึกให้สัมพันธ์กับระดับน้ำในแม่น้ำป่าสัก เพื่อป้องกันไม่ให้เรือติดท้องน้ำ และเกิดการฟ้องกระจายของตะกอนท้องน้ำ
- กรณีเกิดความเสียหายกับแนวตลิ่งริมแม่น้ำป่าสักที่เรือขนถ่ายสินค้าของโครงการใช้สัญจรไปมา หากพบว่าความเสียหายที่เกิดขึ้น เกิดจากเรือขนถ่ายสินค้าของโครงการให้ดำเนินการแก้ไข/ ซ่อมแซมให้มีสภาพดีโดยเร็วที่สุด