ภายใต้ความท้าทายจากผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งบริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด และบริษัทในกลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ได้เล็งเห็นถึงโอกาสจากการเปลี่ยนแปลงในการสร้างแรงผลักดันและสนับสนุนให้ทุกกลุ่มธุรกิจบริษัทฯ ที่มีความมุ่งมั่นในการพยายามลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และมาตรการในการติดตามอย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะบริหารจัดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และมีส่วนร่วมในการลดผลการะทบต่อสิ่งแวดล้อมในวงกว้าง ยึดหลักปฏิบัติตามหลักสากลที่เกี่ยวข้อง บูรณาการเข้ากับหลักการดำเนินงานธุรกิจที่ให้ความสำคัญในเรื่องผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อีกทั้งมีการสนับสนุนกลไกลดก๊าซเรือนกระจกของภาครัฐ และการให้ความสำคัญกับผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการรับรองฉลากคาร์บอน จากความมุ่งมั่นนี้ บริษัทฯมีเป้าหมายลดการใช้พลาสติกสำหรับบรรจุภัณฑ์เพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ การปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์





ประสิทธิภาพพลังงาน
3,532.80 ตัน CO2eq

32.30%
เป้าหมาย2563
-
จำนวนผลิตภัณฑ์ที่มี
การประเมิน Carbon Footprint2334100% -
ร้อยละการลดการปลดปล่อย ก๊าซเรือนกระจกต่อหน่วยรายได้–43.5132.5436.14100%






ด้านสภาพภูมิอากาศตามกรอบแนวทางของ TCFD


Governance
Strategy
Risk Management
Metrics & Targets
กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
เครือเจริญโภคภัณฑ์ตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างดุลยภาพด้านการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
สิ่งแวดล้อม
ความผิดชอบต่อสังคมและยึดมั่นในการดำเนินธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
คือการประเมินและให้ความสำคัญต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมตลอดกระบวนการดำเนินการของธุรกิจ
ตั้งแต่การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การคัดเลือกวัตถุดิบ
กระบวนการผลิตรวมทั้งกระบวนการพัฒนาธุรกิจ รับผิดชอบ
ปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานประกอบการ
จึงได้กำหนดแนวปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อมดังนี้
- ปฏิบัติตามกฎหมายทั้งในระดับประเทศ ระทับท้องถิ่นและมาตรฐานสากลด้านสิ่งแวดล้อมรวมถึงข้อกำหนดของลูกค้าและกฎระเบียบข้อบังคับของกลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ เครือเจริญโภคภัณฑ์อย่างเคร่งครัด
- ดำเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมโดยมุ่งเน้นให้กระบวนการผลิต เครื่องมือรวมทั้งกิจกรรมทางธุรกิจต่างๆมีแนวทางการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกันส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนรอบข้างน้อยที่สุด
- กำหนดให้มีการตรวจติดตามผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากการปฏิบัติงานและดำเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องโดยต้องกำหนดวัตถุประสงค์เป้าหมายและแผนการดำเนินงานที่ชัดเจนและประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมประกอบการตัดสินใจในการดำเนินงาน
- สนับสนุนการสร้างความตระหนักรู้โดยจัดฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อมแก่พนักงาน คู่ค้าและผู้มีส่วนได้เสีย
- สื่อสารนโยบายและข้อกำหนดไปยังพันธมิตรและคู่ค้าทางธุรกิจเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ส่งมอบผู้ให้บริการผู้รับเหมาและคู่ค้าธุรกิจดำเนินการตามมาตรฐานและแนวปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมสอดคล้องกับนโยบาย
กฎระเบียบและข้อบังคับด้าน
สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องของประเทศที่ดำเนินกิจการ - เปิดเผยผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมสู่สาธารณะในรายงานความยั่งยืนหรือเปิดเผยในรูปแบบอื่นๆ
- ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรให้ความเห็นชอบโดยลงนามอนุมัติให้ประกาศใช้นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติทั่วทั้งองค์กร
กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศสู่ปี 2573

ประธานคณะผู้บริหาร กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

และการจัดการพลังงาน
กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ตระหนักถึงความเร่งด่วนในการดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืนที่เกิดขึ้นทั่วโลก กลุ่มธุรกิจของเรามุ่งมั่นที่จะดำเนินงานให้สอดคล้องกับข้อตกลงปารีส เพื่อจำกัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกให้สูงกว่าระดับก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรมไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียส และตั้งเป้าหมายระยะยาวเพื่อให้การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของทั้งห่วงโซ่คุณค่าเป็นศูนย์ไม่เกินปี 2593 ควบคู่ไปกับการตั้งเป้าหมายทางวิทยาศาสตร์ หรือ Science Based Targets ในทุกขอบเขตที่เกี่ยวข้อง และสอดคล้องกับเกณฑ์และคำแนะนำของโครงการ Science Based Targets Initiative (SBTi) อีกทั้งมีเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อหน่วยรายได้ลงร้อยละ 10 ในปี 2563 เทียบกับปีฐาน 2558 โดยกำหนดแนวทางการดำเนินการเพื่อการเป็นองค์กรที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์

เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ (Carbon Neutral Organization) ภายในปี 2573 ตามยุทธศาสตร์การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม เครือฯ จึงมุ่งเน้นการบริหารจัดการพลังงานและทรัพยากรตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ที่ส่งเสริมการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานและกิจกรรมที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดตั้งแต่กระบวนการออกแบบ การบริหารจัดการ การเลือกใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยีประสิทธิภาพสูง เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การเลือกใช้พลังงานสะอาด ตลอดจนการส่งเสริม โครงการปลูกป่าและเกษตรกรเพาะปลูกเพื่อดูดซับก๊าซเรือนกระจกในระยะยาว


ข้าวตราฉัตร ตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านความยั่งยืน
ประกาศความร่วมมือยกระดับการพัฒนาถุงข้าวตราฉัตรที่นอกจากรีไซเคิลได้
ยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น เป็นครั้งแรกของวงการข้าวถุงไทย
ที่ผนึกสองผู้เชี่ยวชาญด้านแพคเกจจิ้ง ได้แก่ กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย (Dow)
(ผู้นำด้านแมททีเรียลส์ ไซแอนซ์ ระดับโลก) และ บริษัท พรีแพค ประเทศไทย จำกัด
ใน เอสซีจีพี (SCGP)
ผู้ผลิตแพคเกจจิ้งพลาสติกชนิดอ่อนตัว
(Flexible Packaging) ชั้นนำของประเทศไทย
ยกระดับมาตรฐานถุงข้าวสารเป็นข้าวถุงรักษ์โลก ด้วยนวัตกรรม INNATE™
และเทคนิคดาวน์ เกจจิ้ง (Down Gauging-บางลงแต่มีประสิทธิภาพมากขึ้น)
ทั้งนี้นับเป็นแบรนด์แรกของไทย
ที่นำนวัตกรรมระดับโลกมาใช้ในการผลิตถุง
เพื่อรีไซเคิลแบบครบวงจร และยังช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
ด้วยการลดพลาสติกและพลังงานในการผลิตพร้อมวางจำหน่ายข้าวถุงรักษ์โลกในไตรมาสแรกของปี
2564 เอาใจกลุ่มผู้บริโภคที่รักสิ่งแวดล้อมทั้งในไทย และต่างประเทศ
โดยมีเป้าหมาย ความยั่งยืน
ที่จะยกเลิกการใช้พลาสติกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ภายในปี 2568
คุณฐิติ ลุจินตานนท์ ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ ธุรกิจการค้าข้าวและอาหารในประเทศและต่างประเทศ กลุ่มธุรกิจข้าวตราฉัตร กล่าวว่า “ด้วยยุทธศาสตร์ความยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์ ที่มุ่งสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กรสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals) ทั้ง 17 ประการ กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ เครือเจริญโภคภัณฑ์ หรือข้าวตราฉัตร ได้นำนโยบายดังกล่าวมาปรับใช้ภายในองค์กร เกิดเป็นปณิธานทั้ง 3 ข้อ ประกอบด้วยหนึ่ง-มุ่งมั่นที่จะยกเลิกการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกที่มีปัญหา หรือไม่จำเป็นภายในองค์กร สอง-เปลี่ยนการใช้บรรจุภัณฑ์แบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง สู่รูปแบบที่สามารถนำกลับมาใช้ซ้ำได้ สาม-100% ของบรรจุภัณฑ์พลาสติกที่นำมาใช้ ต้องสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้
ทั้งนี้ ข้าวตราฉัตร มีเป้าหมายความยั่งยืนโดยจะยกเลิกการใช้พลาสติกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ภายในปี 2568 นี่จึงเป็นที่มาของการจัดงานในครั้งนี้ เพราะในอดีตถุงข้าวสารรีไซเคิลไม่ได้ จนในปัจจุบัน ถุงข้าวตราฉัตร เรามีการปรับเปลี่ยนด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้ถุงข้าวตราฉัตรสามารถนำไปรีไซเคิลได้อย่างสมบูรณ์ โดยตั้งเป้าพัฒนาต่อเนื่องโดยในอนาคตจะทำให้ถุงข้าวตราฉัตรมีประสิทธิภาพสูงและแข็งแรงยิ่งขึ้น ในขณะที่ช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านการลดใช้ปริมาณพลาสติกและพลังงาน ซึ่งจะช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสาเหตุของภาวะโลกร้อนภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือนี้ เราจะพัฒนาถุงข้าวรุ่นใหม่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น เพื่อวางจำหน่ายในไตรมาสแรกของปี 2564 ด้วยเทคโนโลยีใหม่ล่าสุดเป็นแบรนด์แรกในไทย โดยผลิตถุงข้าวจากเม็ดพลาสติก INNATE™ คุณภาพสูงของ Dow ด้วยเทคนิค ดาวน์ เกจจิ้ง (Down Gauging-บางลงแต่มีประสิทธิภาพมากขึ้น) ทำให้ถุงข้าวสารบางลงจากเดิม 110 ไมครอน เหลือ 90 ไมครอน แต่แข็งแรง ทนทานยิ่งขึ้นกว่าเดิม สามารถทนการตกกระแทกจากความสูง 4 เมตรได้โดยไม่แตกรั่ว พร้อมระบบเก็บล็อคความสดใหม่ และกลิ่นหอมของข้าวได้ดีดังเดิม

นอกจากนี้ยังช่วยลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนด้วยการประหยัดปริมาณพลาสติก
และลดพลังงานในกระบวนการบรรจุด้วยการใช้อุณหภูมิที่ต่ำลงในการปิดปากถุงข้าว
โดยในช่วงเริ่มต้นคาดว่าจะลดปริมาณการใช้พลาสติกได้กว่า 300 ตันต่อปี
ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้กว่า 600 ตันคาร์บอนต่อปี เทียบเท่ากับปลูกต้นไม้กว่า
600 ไร่ และเป็นการส่งเสริมการรีไซเคิล
เนื่องจากเป็นถุงฟิล์มหลายชั้นที่ผลิตจากพลาสติกโพลีเอทิลีนชนิดเดียวที่รีไซเคิลได้ง่าย
ในโอกาสเดียวกันนี้ยังเข้าร่วมโครงการ
“มือวิเศษ x วน โดย PPP Plastics”
โดยร่วมรณรงค์ให้ผู้บริโภคนำถุงข้าวตราฉัตรมาบริจาคที่จุดดรอปพอยต์ของโครงการฯ กว่า 300
จุดทั่วกรุงเทพฯ และจังหวัดใกล้เคียง หรือรวบรวมส่งทางไปรษณีย์
เพื่อให้ถุงข้าวตราฉัตรเข้าสู่วงจรเศรษฐกิจหมุนเวียนอย่างสมบูรณ์
ไม่ก่อให้เกิดปัญหาขยะพลาสติกตกค้างในสิ่งแวดล้อมอีกด้วย”


ภายใต้ความท้าทายจากผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งบริษัท ซี.พี. อินเตอร์เทรด จำกัด และบริษัทในกลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ได้เล็งเห็นถึงโอกาสจากการเปลี่ยนแปลงในการสร้างแรงผลักดันและสนับสนุนให้ทุกกลุ่มธุรกิจบริษัทฯ ที่มีความมุ่งมั่นในการพยายามลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และมาตรการในการติดตามอย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะบริหารจัดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และมีส่วนร่วมในการลดผลการะทบต่อสิ่งแวดล้อมในวงกว้าง ยึดหลักปฏิบัติตามหลักสากลที่เกี่ยวข้อง บูรณาการเข้ากับหลักการดำเนินงานธุรกิจที่ให้ความสำคัญในเรื่องผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อีกทั้งมีการสนับสนุนกลไกลดก๊าซเรือนกระจกของภาครัฐ และการให้ความสำคัญกับผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการรับรองฉลากคาร์บอน จากความมุ่งมั่นนี้ บริษัทฯมีเป้าหมายลดการใช้พลาสติกสำหรับบรรจุภัณฑ์เพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ การปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์





ประสิทธิภาพพลังงาน
3,532.80 ตัน CO2eq

32.30%
เป้าหมาย2563
-
จำนวนผลิตภัณฑ์ที่มี
การประเมิน Carbon Footprint2334100% -
ร้อยละการลดการปลดปล่อย ก๊าซเรือนกระจกต่อหน่วยรายได้–43.5132.5436.14100%






ด้านสภาพภูมิอากาศตามกรอบแนวทางของ TCFD


Governance
Strategy
Risk Management
Metrics & Targets
กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
เครือเจริญโภคภัณฑ์ตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างดุลยภาพด้านการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
สิ่งแวดล้อม
ความผิดชอบต่อสังคมและยึดมั่นในการดำเนินธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
คือการประเมินและให้ความสำคัญต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมตลอดกระบวนการดำเนินการของธุรกิจ
ตั้งแต่การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การคัดเลือกวัตถุดิบ
กระบวนการผลิตรวมทั้งกระบวนการพัฒนาธุรกิจ รับผิดชอบ
ปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานประกอบการ
จึงได้กำหนดแนวปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อมดังนี้
- ปฏิบัติตามกฎหมายทั้งในระดับประเทศ ระทับท้องถิ่นและมาตรฐานสากลด้านสิ่งแวดล้อมรวมถึงข้อกำหนดของลูกค้าและกฎระเบียบข้อบังคับของกลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ เครือเจริญโภคภัณฑ์อย่างเคร่งครัด
- ดำเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมโดยมุ่งเน้นให้กระบวนการผลิต เครื่องมือรวมทั้งกิจกรรมทางธุรกิจต่างๆมีแนวทางการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกันส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนรอบข้างน้อยที่สุด
- กำหนดให้มีการตรวจติดตามผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากการปฏิบัติงานและดำเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องโดยต้องกำหนดวัตถุประสงค์เป้าหมายและแผนการดำเนินงานที่ชัดเจนและประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมประกอบการตัดสินใจในการดำเนินงาน
- สนับสนุนการสร้างความตระหนักรู้โดยจัดฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อมแก่พนักงาน คู่ค้าและผู้มีส่วนได้เสีย
- สื่อสารนโยบายและข้อกำหนดไปยังพันธมิตรและคู่ค้าทางธุรกิจเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ส่งมอบผู้ให้บริการผู้รับเหมาและคู่ค้าธุรกิจดำเนินการตามมาตรฐานและแนวปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมสอดคล้องกับนโยบาย
กฎระเบียบและข้อบังคับด้าน
สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องของประเทศที่ดำเนินกิจการ - เปิดเผยผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมสู่สาธารณะในรายงานความยั่งยืนหรือเปิดเผยในรูปแบบอื่นๆ
- ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรให้ความเห็นชอบโดยลงนามอนุมัติให้ประกาศใช้นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติทั่วทั้งองค์กร
กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศสู่ปี 2573

ประธานคณะผู้บริหาร กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

และการจัดการพลังงาน
กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ตระหนักถึงความเร่งด่วนในการดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืนที่เกิดขึ้นทั่วโลก กลุ่มธุรกิจของเรามุ่งมั่นที่จะดำเนินงานให้สอดคล้องกับข้อตกลงปารีส เพื่อจำกัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกให้สูงกว่าระดับก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรมไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียส และตั้งเป้าหมายระยะยาวเพื่อให้การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของทั้งห่วงโซ่คุณค่าเป็นศูนย์ไม่เกินปี 2593 ควบคู่ไปกับการตั้งเป้าหมายทางวิทยาศาสตร์ หรือ Science Based Targets ในทุกขอบเขตที่เกี่ยวข้อง และสอดคล้องกับเกณฑ์และคำแนะนำของโครงการ Science Based Targets Initiative (SBTi) อีกทั้งมีเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อหน่วยรายได้ลงร้อยละ 10 ในปี 2563 เทียบกับปีฐาน 2558 โดยกำหนดแนวทางการดำเนินการเพื่อการเป็นองค์กรที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์

เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ (Carbon Neutral Organization) ภายในปี 2573 ตามยุทธศาสตร์การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม เครือฯ จึงมุ่งเน้นการบริหารจัดการพลังงานและทรัพยากรตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ที่ส่งเสริมการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานและกิจกรรมที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดตั้งแต่กระบวนการออกแบบ การบริหารจัดการ การเลือกใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยีประสิทธิภาพสูง เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การเลือกใช้พลังงานสะอาด ตลอดจนการส่งเสริม โครงการปลูกป่าและเกษตรกรเพาะปลูกเพื่อดูดซับก๊าซเรือนกระจกในระยะยาว


ข้าวตราฉัตร ตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านความยั่งยืน
ประกาศความร่วมมือยกระดับการพัฒนาถุงข้าวตราฉัตรที่นอกจากรีไซเคิลได้
ยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น เป็นครั้งแรกของวงการข้าวถุงไทย
ที่ผนึกสองผู้เชี่ยวชาญด้านแพคเกจจิ้ง ได้แก่ กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย (Dow)
(ผู้นำด้านแมททีเรียลส์ ไซแอนซ์ ระดับโลก) และ บริษัท พรีแพค ประเทศไทย จำกัด
ใน เอสซีจีพี (SCGP)
ผู้ผลิตแพคเกจจิ้งพลาสติกชนิดอ่อนตัว
(Flexible Packaging) ชั้นนำของประเทศไทย
ยกระดับมาตรฐานถุงข้าวสารเป็นข้าวถุงรักษ์โลก ด้วยนวัตกรรม INNATE™
และเทคนิคดาวน์ เกจจิ้ง (Down Gauging-บางลงแต่มีประสิทธิภาพมากขึ้น)
ทั้งนี้นับเป็นแบรนด์แรกของไทย
ที่นำนวัตกรรมระดับโลกมาใช้ในการผลิตถุง
เพื่อรีไซเคิลแบบครบวงจร และยังช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
ด้วยการลดพลาสติกและพลังงานในการผลิตพร้อมวางจำหน่ายข้าวถุงรักษ์โลกในไตรมาสแรกของปี
2564 เอาใจกลุ่มผู้บริโภคที่รักสิ่งแวดล้อมทั้งในไทย และต่างประเทศ
โดยมีเป้าหมาย ความยั่งยืน
ที่จะยกเลิกการใช้พลาสติกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ภายในปี 2568
คุณฐิติ ลุจินตานนท์ ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ ธุรกิจการค้าข้าวและอาหารในประเทศและต่างประเทศ กลุ่มธุรกิจข้าวตราฉัตร กล่าวว่า “ด้วยยุทธศาสตร์ความยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์ ที่มุ่งสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กรสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals) ทั้ง 17 ประการ กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ เครือเจริญโภคภัณฑ์ หรือข้าวตราฉัตร ได้นำนโยบายดังกล่าวมาปรับใช้ภายในองค์กร เกิดเป็นปณิธานทั้ง 3 ข้อ ประกอบด้วยหนึ่ง-มุ่งมั่นที่จะยกเลิกการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกที่มีปัญหา หรือไม่จำเป็นภายในองค์กร สอง-เปลี่ยนการใช้บรรจุภัณฑ์แบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง สู่รูปแบบที่สามารถนำกลับมาใช้ซ้ำได้ สาม-100% ของบรรจุภัณฑ์พลาสติกที่นำมาใช้ ต้องสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้
ทั้งนี้ ข้าวตราฉัตร มีเป้าหมายความยั่งยืนโดยจะยกเลิกการใช้พลาสติกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ภายในปี 2568 นี่จึงเป็นที่มาของการจัดงานในครั้งนี้ เพราะในอดีตถุงข้าวสารรีไซเคิลไม่ได้ จนในปัจจุบัน ถุงข้าวตราฉัตร เรามีการปรับเปลี่ยนด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้ถุงข้าวตราฉัตรสามารถนำไปรีไซเคิลได้อย่างสมบูรณ์ โดยตั้งเป้าพัฒนาต่อเนื่องโดยในอนาคตจะทำให้ถุงข้าวตราฉัตรมีประสิทธิภาพสูงและแข็งแรงยิ่งขึ้น ในขณะที่ช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านการลดใช้ปริมาณพลาสติกและพลังงาน ซึ่งจะช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสาเหตุของภาวะโลกร้อนภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือนี้ เราจะพัฒนาถุงข้าวรุ่นใหม่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น เพื่อวางจำหน่ายในไตรมาสแรกของปี 2564 ด้วยเทคโนโลยีใหม่ล่าสุดเป็นแบรนด์แรกในไทย โดยผลิตถุงข้าวจากเม็ดพลาสติก INNATE™ คุณภาพสูงของ Dow ด้วยเทคนิค ดาวน์ เกจจิ้ง (Down Gauging-บางลงแต่มีประสิทธิภาพมากขึ้น) ทำให้ถุงข้าวสารบางลงจากเดิม 110 ไมครอน เหลือ 90 ไมครอน แต่แข็งแรง ทนทานยิ่งขึ้นกว่าเดิม สามารถทนการตกกระแทกจากความสูง 4 เมตรได้โดยไม่แตกรั่ว พร้อมระบบเก็บล็อคความสดใหม่ และกลิ่นหอมของข้าวได้ดีดังเดิม

นอกจากนี้ยังช่วยลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนด้วยการประหยัดปริมาณพลาสติก
และลดพลังงานในกระบวนการบรรจุด้วยการใช้อุณหภูมิที่ต่ำลงในการปิดปากถุงข้าว
โดยในช่วงเริ่มต้นคาดว่าจะลดปริมาณการใช้พลาสติกได้กว่า 300 ตันต่อปี
ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้กว่า 600 ตันคาร์บอนต่อปี เทียบเท่ากับปลูกต้นไม้กว่า
600 ไร่ และเป็นการส่งเสริมการรีไซเคิล
เนื่องจากเป็นถุงฟิล์มหลายชั้นที่ผลิตจากพลาสติกโพลีเอทิลีนชนิดเดียวที่รีไซเคิลได้ง่าย
ในโอกาสเดียวกันนี้ยังเข้าร่วมโครงการ
“มือวิเศษ x วน โดย PPP Plastics”
โดยร่วมรณรงค์ให้ผู้บริโภคนำถุงข้าวตราฉัตรมาบริจาคที่จุดดรอปพอยต์ของโครงการฯ กว่า 300
จุดทั่วกรุงเทพฯ และจังหวัดใกล้เคียง หรือรวบรวมส่งทางไปรษณีย์
เพื่อให้ถุงข้าวตราฉัตรเข้าสู่วงจรเศรษฐกิจหมุนเวียนอย่างสมบูรณ์
ไม่ก่อให้เกิดปัญหาขยะพลาสติกตกค้างในสิ่งแวดล้อมอีกด้วย”

